รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยา
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2565
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 ผศ.ดร.กีรติพร จูตะวิริยะ |
-แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน บทที่ 1 ทฤษฎีวิพากษ์แบบหลังสมัยใหม่นิยม -ทฤษฎีในสังคมวิทยา และความพยายามในการสร้างทฤษฎีใหม่ๆ - Central themes of Critical Theory -เปรียบเทียบ positivism และ critical theories |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาแจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน และแนวทางการประมวลผลรายวิชา (2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและซักถามเกี่ยวกับการเรียนการสอน และนักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์ตอบข้อซักถามนักศึกษา |
|
2 อ.ดร.ภาณุ สุพพัตกุล |
บทที่ 2 ข้อวิพากษ์ทฤษฎีทางสังคมเชิงวิพากษ์ -Debates of “modernity” and “postmodernity” -Postmodernism as Critical Social Theory -Establishment of Critical Social Theory |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ข้อวิพากษ์ทฤษฎีทางสังคมเชิงวิพากษ์ (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
3 อ.ดร.ภาณุ สุพพัตกุล |
บทที่ 3 Establishment of Critical Social Theory -ทฤษฎีวัฒนธรรมแนวมาร์กซิสต์ ทฤษฎีหลังอาณานิคม -Neo-Marxist as Critical Theories: Antonio Gramsci -Critical Theory of the Frankfurt School |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ทฤษฎีวัฒนธรรมแนวมาร์กซิสต์ ทฤษฎีหลังอาณานิคม (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
4 ผศ.ดร.จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง |
บทที่ 4 The Culture Industry Argument -การศึกษาวัฒนธรรมแนววิพากษ์ และวัฒนธรรมศึกษา (Cultural Studies) |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่การศึกษาวัฒนธรรมแนววิพากษ์ (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
5 ผศ.ดร.จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง |
บทที่ 5 การศึกษาวัฒนธรรมแนววิพากษ์ และวัฒนธรรมศึกษา (Cultural Studies) -ทฤษฎีเทคโนโลยีการสื่อสารเป็นตัวกำหนด ของสำนักโตรอนโต |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่การศึกษาวัฒนธรรมแนววิพากษ์และวัฒนธรรมศึกษา (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
6 ผศ.ดร.กีรติพร จูตะวิริยะ | บทที่ 6 Critical Social Theories in Mass Communication and consumption | 3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ Critical Social Theories in Mass Communication and consumption (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
7 ผศ.ดร.กีรติพร จูตะวิริยะ |
บทที่ 7 New Generation of the Frankfurt School: Jurgen Habermas -Capitalism, Communication and Colonization |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่New Generation of the Frankfurt School (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
8 อ.ดร.ชีรา ทองกระจาย | บทที่ 8 ทฤษฎีวิพากษ์แนวสตรีนิยม (Critical Feminist theory ) | 3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ทฤษฎีวิพากษ์แนวสตรีนิยม (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
9 อ.ดร.ชีรา ทองกระจาย |
บทที่ 9 Critical Perspectives of Pierre Bourdieu -Habitus, Field, and Capital |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ Critical Perspectives of Pierre Bourdieu (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
10 อ.ดร.ชีรา ทองกระจาย |
บทที่ 10 Critical Theory in Postmodernism -เพศ วาทกรรม อำนาจ: การศึกษาในแนวของ Michael Foucault |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ Critical Theory in Postmodernism (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
11 ผศ.ดร. รักชนก ชำนาญมาก |
บทที่ 11 Critical Theory in Postmodernism (cont’d) -สัญญะ และ การบริโภคสัญญะ ตามแนวคิดของ Jean Baudrillard |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ Critical Theory in Postmodernism (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
12 ผศ.ดร. รักชนก ชำนาญมาก |
บทที่ 12 Semiology -แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับ Semiology |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ทฤษฎีเกี่ยวกับ Semiology (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
13 ผศ.ดร. กีรติพร จูตะวิริยะ | บทที่ 13 Critical Social Theory: Applications and Implications | 3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ Critical Social Theory: Applications and Implications (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
14 ผศ.ดร.กีรติพร จูตะวิริยะ |
-สรุปแนวคิดทฤษฎีและการประยุกต์ เชื่อมโยงสู่การวิจัย -การทำความเข้าใจทฤษฎีวิพากษ์ผ่านมุมมองของผู้ที่อยู่ในสถานะรองในสังคม |
3 |
|
(1) อาจารย์นำเสนอสาระสำคัญของแนวคิด/ทฤษฎีจากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่การทำความเข้าใจทฤษฎีวิพากษ์ผ่านมุมมองของผู้ที่อยู่ในสถานะรองในสังคม (2) นักศึกษาร่วมอภิปรายและวิพากษ์ผ่านบทความ/งานวิจัย/เอกสารรูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายให้อ่าน/ค้นคว้าล่วงหน้า (3) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (4) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
15 ผศ.ดร.กีรติพร จูตะวิริยะ และคณาจารย์ |
-การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ส่งรายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ -ข้อสอบ Take-home |
3 |
|
(1) นักศึกษานำเสนอรายงาน (2) อาจารย์เปิดโอกาสให้ผู้ฟังถามหรือแสดงความคิดเห็นต่อรายงานของนักศึกษา (3) อาจารย์ให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อรายงานของนักศึกษา (4) อาจารย์และผู้เรียนสรุปสาระสำคัญร่วมกัน (5) อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
-การค้นคว้าด้วยตนเอง ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน |
|
10 | |
-การทำรายงาน (ทบทวนแนวคิด/ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) และการนำเสนอรายงาน |
|
40 | |
-สอบปลายภาค 50 คะแนน (take- home) |
|
50 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
9.1 ตำราและเอกสารหลัก กาญจนา แก้วเทพ. Critical Theory การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ กรุงเทพ: บริษัทแบรนด์เอจ จำกัด จันทนี เจริญศรี. 2544. โพสต์โมเดิร์น & สังคมวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์วิภาษา. สุภางค์ จันทวานิช. 2551. ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Agger, Ben. 1998. Critical Social Theories: An Introduction. Boulder, Colorado: Westview Press Alvesson, Mats. 2002. Postmodernism and Social Research. Buckingham, Philadelphia: Open University Press. 9.2 เอกสารและข้อมูลสำคัญ ไชยันต์ ไชยพร. 2550. Post Modern กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ Openbook Beck, Ulrich. 1992. Risk Society : Toward A New Modernity, Sage Publications. Calhoun, Craig. 1995. Critical Social Theory. Cambridge, Massachusetts: Blackwell Publishers. Elliott, Anthony. 2009. Contemporary Social Theory: An Introduction. New York: Routledge. Habermas, J. 1983. The Structural transformation of the Public Sphere. translated by Thomas Burger. Cambridge: MIT Press. 9.3 เอกสารและข้อมูลแนะนำ Held, David. 1980. Introduction to Critical Theory: Horkheimer to Habermas. Berkley: University of California Press Kellner, Douglas. Critical Theory and the Crisis of Social Theory. (www.gseis.ucla.edu/faculty/kellner/kellner.html) Michael Foucault. 1966. The Order of Things, translated by Alan Sheridan, New York: Vintage, 1973. Scholte JA. 2000. Globalisation: A Critical Introduction. Palgrave. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement