รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาเยอรมัน
German
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำรายวิชา และกำหนดรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานเข้าในระบบ Google Classroom ของรายวิชา อธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกัน และอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน ตลอดจนเงื่อนไขและข้อกำหนดต่างๆ ที่จะใช้ตลอดภาคการศึกษา (2) แบ่งกลุ่ม/จัดกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบหัวข้อ/เนื้อหาที่จะต้องมีการนำเสนอตลอดภาคการศึกษา |
|
2-4 |
บทที่ 1 การเดินทางท่องเที่ยว ไวยากรณ์ - Indirekte Wortfrage (mit Fragewort) - Indirekte Satzfrage (mit Subjunktor „ob“) |
9 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่1 (2) ทบทวนโครงสร้างหลักของอนุประโยค อ่านบทความในแบบเรียน โดยให้ผู้เรียนวิเคราะห์ความแตกต่างของการใช้คำเชื่อมระหว่างประโยคหลักและอนุประโยค (3) การนำเสนอเนื้อหาบทที่ 1 หัวข้อ Indirekte Fragesätze และการท่องเที่ยวในประเทศเยอรมัน (4) ทำกิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์รูปแบบของอนุประโยคที่ขึ้นต้นด้วยปุจฉาสรรพนามลักษณะต่างๆ (5)ศึกษาเอกสารประกอบการสอนและทำแบบฝึกหัดประจำบท โดยส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (6) ศึกษาค้นคว้าและทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (7) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (8) ผู้เรียนสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (9) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 |
|
5-8 |
บทที่ 2 เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ไวยากรณ์ การใช้ประโยคในรูปแบบกรรมวาจก - Passiv - Verb “lassen” |
12 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่ 2 (2) การนำเสนอเนื้อหาบทที่ 2 หัวข้อ Passiv และหัวข้อเกี่ยวกับเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศเยอรมัน (3) ทบทวนโครงสร้างประโยคที่มีกรรมตรงในประโยค อ่านบทความในแบบเรียน วิเคราะห์ความแตกต่างของประโยคปกติและประโยค (4) ทำกิจกรรมกลุ่ม ฟังบทสนทนาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิเคราะห์โครงสร้างรูปแบบของประโยคในรูปแบบกรรมวาจก ฝึกแต่งและแปลงประโยคปกติเป็นประโยค Passiv (5) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบสอน ทำแบบฝึกหัดและส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (6) ศึกษาค้นคว้าและทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (7) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (8) ผู้เรียนสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (9) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 |
|
9-12 |
บทที่ 3 การเมือง การธนาคาร ไวยากรณ์ - คำนำหน้านามรูปแบบสัมพันธการก (Genitiv) - คำบุพบทที่ใช้กับคำนามรูปสัมพันธการก (Präpositionen mit Genitiv) |
12 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่ 3 (2) การนำเสนอเนื้อหาบทที่ 3 หัวข้อ Genitiv/Präposition mit Genitiv และหัวข้อเกี่ยวกับการเมือง และธนาคาร ของประเทศเยอรมัน (3) ทบทวนการใช้คำนำหน้านามแบบ Possessivartikel (4) อ่านบทความในแบบเรียน วิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างของการใช้ Possessivartikel , การใช้ “von” ในการบ่งบอกความเป็นเจ้าของ และการใช้คำนำหน้าคำนามในรูปแบบสัมพันธการก (Genitiv) ตลอดจนคำบุพบท โดยเฉพาะคำบุพบทที่ต้องการคำนามในรูป Genitiv หลังจากนั้นทำกิจกรรมกลุ่ม เพื่อช่วยกันสรุปวิธีการเปลี่ยนแปลงคำนำหน้านามให้อยู่ในรูปสัมพันธการก (Genitiv) (5) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบสอน ทำแบบฝึกหัดและส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (6) ศึกษาค้นคว้าและทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (7) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (8) ผู้เรียนสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (9) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 3 |
|
13-15 |
บทที่ 4 การบริโภคและมาตรฐานการดำเนินชีวิต ไวยากรณ์ การใช้กริยาวลี - Partizip I - Partizip II |
9 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่ 4 (2) การนำเสนอเนื้อหาบทที่ 4 หัวข้อ Partizipien (Partizip I, Partizip II) และหัวข้อเกี่ยวกับการบริโภคและมาตรฐานการดำเนินชีวิตของชาวเยอรมัน (3) ทบทวนโครงสร้างและการผันคำคุณศัพท์ที่ใช้ขยายหน้าคำนามรูปแบบต่างๆ (4) ทำกิจกรรมกลุ่ม ฟังบทสนทนาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างของการผันคำคุณศัพท์และกริยาวลีที่อยู่หน้าคำนาม สรุปวิธีการเปลี่ยนแปลงคำกริยาให้เป็นกริยาวลี ทั้ง 2 ลักษณะ (5) นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบสอน ทำแบบฝึกหัดและส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (6) ศึกษาค้นคว้าและทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (7) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (8) ผู้เรียนสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (9) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 4 |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
- การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม - พฤติกรรมการส่งงาน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
- การนำเสนอหน้าชั้นเรียน - การนำเสนอสรุปเนื้อหาผ่านคลิปวิดีโอ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 3, 5, 9, 13 |
การสอบเก็บคะแนน |
|
10 | ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
การสอบกลางภาค |
|
20 | สัปดาห์ที่ 4, 8, 12, 15 |
การสอบปลายภาค |
|
30 | ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน |
บุญมา พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2566). เอกสารประกอบการสอนวิชา HS722 108 ภาษาเยอรมัน 4 (ฉบับร่าง). คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Aufderstraße, Hartmut, et al. (2003). Themen Aktuell. Max Hueber Verlag. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Aufderstraße, Hartmut, et al. (2004). Themen neu 2. Kursbuch: „Lehrwerk für Deutsch als Fremdsprache“, Ismaningen: Max Hueber Verlag. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Lemcke, Christiane, et al. (2010). Berliner Platz 2. Belrlim: Langenscheidt Verlag. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Niebisch, Daniela, et al. (2012) . Schritte international 4. Ismaning: Max Hueber Verlag. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://www.hueber.de/shared/uebungen/schritte-international/ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วรรณา แสงอร่ามเรือง. (2554). ไวยากรณ์เยอรมัน เล่ม 2. Deutsche Grammatik Band 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วรรณา แสงอร่ามเรือง. (2551). .ภาษาเยอรมันในชีวิตประจำวัน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Gottstein-Schramm, B. et al. (2010). Schritte Übungsgrammatik: Deutsch als Fremdsprache. Hueber Verlag. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Reimann, Monika (2004). Grundstufen-Grammatik für Deutsch als Fremdsprache. Hueber Verlag. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ