Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612402
ภาษาไทย
Thai name
สัทศาสตร์เพื่อการออกเสียงภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
English name
Phonetics for Thai Language Pronunciation
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกิต บัวขาว
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกิต บัวขาว
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดพื้นฐานทางสัทศาสตร์
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องสัทอักษรและการถ่ายถอดเสียงภาษาไทย
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางสัทศาสตร์ไปใช้ในการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • นักศึกษามีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    แนวคิดพื้นฐาน อวัยวะในการออกเสียง เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ สัทอักษร และการถ่ายถอดเสียง ภาษาไทย
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Fundamental concepts, speech organs, consonants, vowels, tones, phonetic alphabets, and transcription of Thai language
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 1. แนวคิดพื้นฐาน
    1.1 ภาษาศาสตร์และสัทศาสตร์
    1.2 ขอบเขตของวิชาสัทศาสตร์
    1.3 สาขาย่อยของวิชาสัทศาสตร์
    1.4 ประโยชน์ของวิชาสัทศาสตร์
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดพื้นฐานทางสัทศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    3-4 2. อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
    2.1 กลไกกระแสลมที่ใช้ในการออกเสียง
    2.2 สภาพช่องเส้นเสียง
    2.3 อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงหรือฐานกรณ์
    6
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    หนังสือ หรือ ตำรา
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    5-6 3. เสียงพยัญชนะ
    3.1 อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงหรือฐานกรณ์
    3.2 ลักษณะการออกเสียงพยัญชนะ
    3.3. ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงพยัญชนะ
    6
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    YouTube
    ในห้องเรียน
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    7-8 4. เสียงสระ
    4.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเสียงสระ
    4.2 การจำแนกเสียงสระ
    4.3 ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงสระ
    6
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    YouTube
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์
    ในห้องเรียน
    9-10 5. วรรณยุกต์
    5.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเสียงวรรณยุกต์
    5.2 ค่าความถี่มูลฐาน
    5.3. ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์
    6
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    11-13 6. สัทอักษรและการถ่ายถอดเสียงภาษาไทย
    6.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสัทอักษรสากล (IPA)
    6.2 วิธีการถ่ายถอดเสียงแบบแคบและวิธีการถ่ายถอดเสียงแบบกว้าง
    6.3 การถ่ายเสียงภาษาไทยโดยใช้สัทอักษรสากล (IPA)
    6.4 การฝึกใช้สัทอักษรสากลเขียนคำภาษาไทย
    6.5 สัทอักษรในแบบเรียนภาษาไทยในฐานภาษาต่างประเทศ
    9
    • K5: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางสัทศาสตร์ไปใช้ในการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E2: นักศึกษามีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    หนังสือ หรือ ตำรา
    YouTube
    ในห้องเรียน
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    14-15 7. นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดพื้นฐานทางสัทศาสตร์
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • K5: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางสัทศาสตร์ไปใช้ในการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E2: นักศึกษามีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดพื้นฐานทางสัทศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    งานกลุ่ม
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • K5: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางสัทศาสตร์ไปใช้ในการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E2: นักศึกษามีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    40
    งานเดี่ยว
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
    • K4: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องสัทอักษรและการถ่ายถอดเสียงภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องแนวคิดพื้นฐานทางสัทศาสตร์
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ. (2554). เสียงภาษาไทย: การศึกษาทางกลสัทศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา พิณทิพย์ ทวยเจริญ. (2547). ภาพรวมของการศึกษาสัทศาสตร์และภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา นันทนา รณเกียรติ. (2554). สัทศาสตร์ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา อมร ทวีศักดิ์. (2542). สัทศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ A Course in Phonetics (https://linguistics.berkeley.edu/acip/) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Praat : Doing Phonetics by Computer (https://www.fon.hum.uva.nl/praat/) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Interactive IPA Chart (http://www.ipachart.com/) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ