Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS613312
ภาษาไทย
Thai name
วรรณคดีเปรียบเทียบ
ภาษาอังกฤษ
English name
COMPARATIVE LITERATURE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    ทักษะ
    Skills
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนทัศน์วรรณคดีเปรียบเทียบในการวิเคราะห์วรรณคดีไทยได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ขอบเขต พัฒนาการ กระบวนทัศน์สหชาติ สหศาสตร์ สหศิลป์ และสหบท วรรณคดีเปรียบเทียบคัดสรร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, scope, development, multinational paradigm, multidisciplinary, multi-arts, intertextuality, selected comparative literature
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ชี้แจงรายละเอียดและวิธีการเรียน
    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณคดีเปรียบเทียบ
    1. ความหมาย
    2. ขอบเขตและกระบวนทัศน์
    6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    (1) พบนักศึกษาเพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่าน ระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน

    (2) สอนภาคทฤษฏีโดยใช้ VDO clips (Clip 1 อักษราภิวัตน์เรื่องวรรณวิถีวรรณคดีเปรียบเทียบ ข้ามชาติ ข้ามศาสตร์ ข้ามศิลป์ https://www.youtube.com/watch?v=xS-Z5c6OvZk)

    (3) นักศึกษาอภิปราย ร่วมกันใน หัวข้อที่ 1 ประเด็นและขอบเขตของการศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบ รวมทั้งตัวอย่างการศึกษาในปัจจุบัน
    (4) ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความหมายขอบเขต และกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    3-4 พัฒนาการวรรณคดีเปรียบเทียบในต่างประเทศและประเทศไทย 6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    (1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยาย หัวข้อ พัฒนาการวรรณคดีเปรียบเทียบในต่างประเทศและประเทศไทย และศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf)
    (2) นักศึกษาสรุปย่อส่งใน KKU e-Learning
    (3) นัดศึกษาทำแบบทดสอบย่อยเพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการวรรณคดีเปรียบเทียบ
    (4) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อเฉลยแบบฝึกหัด
    (5) สรุปและอภิปรายร่วมกัน
    5-6 การวิเคราะห์งานตามแนวทางวรรณคดีเปรียบเทียบ 6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมและนักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf)
    (2) นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอตัวอย่างงานวรรณคดีเปรียบเทียบคัดสรร
    (3) นักศึกษาร่วมกันวิพากษ์งานว่าเป็นวรรณคดีเปรียบเทียบหรือไม่ อย่างไร
    (4) สรุปและอภิปรายร่วมกันเรื่องแนวทางวรรณคดีเปรียบเทียบ
    7-8 การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามชาติข้ามภาษา 6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    (1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายเรื่อง การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามชาติข้ามภาษา และศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf) (2) นักศึกษาสรุปประเด็นเกี่ยวกับวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามชาติข้ามภาษาและทำแบบทดสอบย่อย
    (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อเฉลยแบบทดสอบและอธิบายเพิ่มเติม
    (4) ศึกษาตัวอย่างการศึกษาในแนวทางข้ามชาติข้ามภาษา
    (5) สรุปและอภิปรายร่วมกัน
    9-10 การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามศาสตร์ 6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    (1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายเรื่อง การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามศาสตร์ และศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf)
    (2) ฟังคลิปการบรรยาย เพศ ชนชั้น ชาติพันธุ์ ในการศึกษาวรรณคดีไทยhttps://www.youtube.com/watch?v=1pnfGiZDXOE
    ฟังคลิปการเสวนาเรื่องความเป็นชายในวรรณคดี https://www.youtube.com/watch?v=LezsatAlmmA
    (2) นักศึกษาสรุปประเด็นเกี่ยวกับวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามศาสตร์และทำแบบทดสอบย่อย
    (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อเฉลยแบบฝึกหัดและอธิบายเพิ่มเติม
    (4) ศึกษาตัวอย่างการศึกษาแนวข้ามศาสตร์
    (5) สรุปและอภิปรายร่วมกัน
    11-12 การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามศิลป์ 6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    (1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายเรื่อง การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามศิลป์ และศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf) (2) นักศึกษาสรุปประเด็นเกี่ยวกับวรรณคดีเปรียบเทียบแนวข้ามศิลป์และทำแบบทดสอบย่อย
    (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อเฉลยแบบทดสอบและอธิบายเพิ่มเติม
    (4) ศึกษาตัวอย่างการศึกษาในแนวทางข้ามศิลป์
    (5) สรุปและอภิปรายร่วมกัน
    13-14 การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวสหบท
    6
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    (1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายเรื่อง การศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบแนวสหบท และศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf) (2) นักศึกษาสรุปประเด็นเกี่ยวกับวรรณคดีเปรียบเทียบแนวสหบทและทำแบบทดสอบย่อย
    (3) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม เพื่อเฉลยแบบทดสอบและอธิบายเพิ่มเติม
    (4) ศึกษาตัวอย่างการศึกษาในแนวทางสหบท
    (5) สรุปและอภิปรายร่วมกัน
    15 การนำเสนอแนวทางการศึกษาทางวรรณคดีเปรียบเทียบ 3
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนทัศน์วรรณคดีเปรียบเทียบในการวิเคราะห์วรรณคดีไทยได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมและนักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอน (ไฟล์ pdf)
    (2) นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอตัวอย่างงานวรรณคดีเปรียบเทียบคัดสรร
    (3) นักศึกษาร่วมกันวิพากษ์งานว่าเป็นวรรณคดีเปรียบเทียบหรือไม่ อย่างไร
    (4) สรุปและอภิปรายร่วมกันเรื่องแนวทางวรรณคดีเปรียบเทียบ
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนใน KKU e-Learning และการมีส่วนร่วมใน Discussion forum
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนทัศน์วรรณคดีเปรียบเทียบในการวิเคราะห์วรรณคดีไทยได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    10
    การนำเสนองานกลุ่ม 1 ชิ้น
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนทัศน์วรรณคดีเปรียบเทียบในการวิเคราะห์วรรณคดีไทยได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    10
    แบบฝึกหัดและงานสรุป
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    20
    การนำเสนอผลงาน (งานกลุ่ม)
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนทัศน์วรรณคดีเปรียบเทียบในการวิเคราะห์วรรณคดีไทยได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    20 นำเสนอและส่งในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน
    การสอบกลางภาคและปลายภาค
    • K1: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • K2: เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการศึกษาวิเคราะห์แบบวรรณคดีเปรียบเทียบ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และแสดงความเชื่อมโยงระหว่างวรรณกรรมกับศาสตร์และศิลปะแขนงอื่นได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้กระบวนทัศน์วรรณคดีเปรียบเทียบในการวิเคราะห์วรรณคดีไทยได้
    40 Online Take home
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ตรีศิลป์ บุญขจร. ด้วยแสงแห่งวรรณคดีเปรียบเทียบ วรรณคดีเปรียบเทียบ: กระบวนทัศน์และวิธีการ. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ (กรณีพิเศษ) นางทองสุข บุญขจร. 20 ธันวาคม 2549.
    หนังสือ หรือ ตำรา เจตนา นาควัชระ. ทิศทางของการศึกษาวรรณคดีเปรียบเทียบ. เอกสารประกอบการปาฐกถาเรื่อง วรรณคดีเปรียบเทียบ:ทางแห่งความหวังของวรรณคดีศึกษาในประเทศไทย. ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 17 มีนาคม 2541 ณ ห้องประชุมสารนิเทศ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา กระแส มาลยาภรณ์. วรรณคดีเปรียบเทียบเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร แผนกการพิมพ์โรงเรียนสตรีเนติศึกษา, 2516.
    หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. เมื่อสื่อส่องและสร้างวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ศาลาแดง, 2545.
    หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : เอดิสันเพรสโปรดักส์, 2544.
    หนังสือ หรือ ตำรา จารุวรรณ เชาว์นวม. นิทานพื้นเมืองลาว : ลักษณะเด่นและความสัมพันธ์กับสังคม. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
    หนังสือ หรือ ตำรา อุมารินทร์ ตุลารักษ์. บททำขวัญเรือและพิธีทำขวัญเรือของชาวไทยภาคใต้: การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
    หนังสือ หรือ ตำรา ตรีศิลป์ บุญขจร. นวนิยายกับสังคมไทย(2575-2500).กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
    หนังสือ หรือ ตำรา นิธิ เอียวศรีวงศ์. ปากไก่และใบเรือ ว่าด้วยการศึกษาประวัติศาสตร์-วรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: แพรวสำนักพิมพ์, 2543.
    หนังสือ หรือ ตำรา มุกริน วิโรจน์ชูฉัตร. มาดามบัตเตอร์ฟลาย: ศึกษาเปรียบเทียบฉบับต่าง ๆ อิทธิพลที่มีต่อวรรณกรรมไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
    หนังสือ หรือ ตำรา วิยะดา พรหมจิตต์. พัฒนาการเรื่องสั้นลาว: ความสัมพันธ์กับสังคม. วิทยานิพนธ์ อ.ม. กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
    หนังสือ หรือ ตำรา สิทธา พินิจภูวดลและรื่นฤทัย สัจจพันธุ์. วรรณคดีเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ สุธา ศาสตรี. วรรณคดีเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2525. (E-Book
    (http://www.openbase.in.th/files/tbpj098.pdf?fbclid=IwAR3j6Ui1Owd0Rt-7m1xn4LwuI6P83mSkwcBoLpWwtuubGdaOEzJkKI89xBY
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ เสนาะ เจริญพร. ผู้หญิงกับสังคมในวรรณกรรมไทยยุคฟองสบู่. กรุงเทพมหานคร: ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ, 2548.
    จาก http://www.arts.chula.ac.th/~complit/complite/?q=Thesis%20Database
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์วรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    https://kku.world/cfxbn
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ