Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS612406
ภาษาไทย
Thai name
ไทยศึกษาเพื่อการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ
English name
Thai Studies for Learning
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
-
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อุมารินทร์ ตุลารักษ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ความสำคัญ ขอบเขต ไทยคดีศึกษากับภาษาและวรรณกรรมไทย แนวคิดทฤษฎี ประเด็นปัจจุบันทางไทยคดีศึกษา งานวิจัยทางไทยคดีศึกษาคัดสรร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, significance, and scope; Thai studies in relations with Thai language and literary works, concepts and theories, current issues in Thai studies, selected research in Thai studies
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ความหมาย ความสำคัญ ขอบเขต ความเชื่อมโยงของไทยศึกษากับอาณาบริเวณศึกษาและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    (1) พบนักศึกษาเพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงาน และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน
    (2) บรรยายความสำคัญ ขอบเขตของไทยศึกษา ไทยศึกษาและความเชื่อมโยงกับอาณาบริเวณศึกษาและศาสตร์อื่น
    (3) นักศึกษาอภิปราย ร่วมกันใน หัวข้อที่ 2 รวมทั้งการยกตัวอย่างประเด็นการศึกษาในปัจจุบัน
    (4) ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความหมายขอบเขต และกระบวนทัศน์ของวรรณคดีเปรียบเทียบ
    3-4 ไทยศึกษากับการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทย 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    (1) บรรยายความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับภาษาและวรรณกรรมไทย ทั้งในด้านขอบเขต ประเด็น ข้อมูล และวิธีการศึกษา
    (2) นักศึกษาอ่านบทความทางวิชาการที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับภาษาและวรรณกรรมไทย
    (3) นักศึกษาตอบคำถามและอภิปรายร่วมกันเป็นกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาในบทความ
    5-6 แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ไทยศึกษา: การศึกษาอัตลักษณ์ในตัวบททางไทยศึกษา 6
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    (1) บรรยายแนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ไทยศึกษา: การศึกษาอัตลักษณ์ในตัวบททางไทยศึกษา ทั้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์
    (2) นักศึกษาอ่านบทความทางวิชาการที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับอัตลักษณ์
    (3) นักศึกษาตอบคำถามและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาในบทความ
    7-8 แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ไทยศึกษา: บทบาทหน้าที่และการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม 6
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    (1) บรรยายแนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิเคราะห์ไทยศึกษา: บทบาทหน้าที่และการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม
    (2) นักศึกษาอ่านบทความทางวิชาการที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับบทบาทหน้าที่และการสื่อสารความหมายทางวัฒนธรรม
    (3) นักศึกษาตอบคำถามและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาในบทความ
    9-10 ประเด็นปัจจุบันทางไทยคดีศึกษา: การศึกษาประเด็นไทยศึกษาในตัวบทวรรณคดีและวรรณกรรม 6
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    (1) นักศึกษาอ่านวรรณกรรมและบทความทางวิชาการที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับประเด็นสำคัญในตัวบทวรรณคดีและวรรณกรรม
    (2) นักศึกษาตอบคำถามและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาในตัวบทและบทความ
    11-12 ประเด็นปัจจุบันทางไทยคดีศึกษา: การศึกษาประเด็นไทยศึกษาในประเพณี พิธีกรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    (1) นักศึกษาชมวีดิทัศน์และอ่านบทความทางวิชาการที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับประเพณี พิธีกรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
    (2) นักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาในวีดิทัศน์และบทความ
    13-14 ภาพยนตร์และงานวิจัยทางไทยคดีศึกษาคัดสรร 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    (1) นักศึกษาชมภาพยนตร์ที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างไทยศึกษากับความเชื่อและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย
    (2) นักศึกษาตอบคำถามและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาในภาพยนตร์
    (3) นักศึกษาทำแบบทดสอบรายบุคคล
    15 นำเสนอผลการศึกษางานกลุ่ม 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    (1) นักศึกษาส่งบทความทางวิชาการและนำเสนอผลการศึกษาไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทย
    (2) นักศึกษาตอบคำถามและร่วมอภิปรายเกี่ยวกับประเด็นปัจจุบันในการศึกษาไทยศึกษา
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมใน Discussion forum
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    แบบฝึกหัดรายบุคคล
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20
    งานเดี่ยว: การวิเคราะห์ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    20
    สอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    15
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    15
    งานกลุ่ม: วิเคราะห์ประเด็นการศึกษาไทยศึกษา
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจความหมาย ขอบเขต และประเด็นปัจจุบันทางไทยศึกษา
    • K2: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ไทยศึกษาในภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวทางการศึกษาไทยศึกษาในการศึกษาภาษาและวรรณกรรมไทยได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    20
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา พาณี ศรีวิพาต. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่อง "นางนาคพระโขนง". วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    การเปรียบเทียบแม่นาคพระโขนง.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สรรัตน์ จิรบวรวิสุทธิ์. (2562). พลวัตและการสืบสานตำนานแม่นาคพระโขนงในสื่อบันเทิงยุคปัจจุบัน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์. 18(2), 69-96. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    พลวัตและการสืบสานตำนานแม่นาคพระโขนง การสื่อความหมายทางวัฒนธรรม.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อิทธิพล วรานุศุภากุล. (2558). การเล่าเรื่องของ "พี่มาก...พระโขนง" และสัมพันธบทความเป็น "แม่นาคพระโขนง" สู่ "พี่มาก... พระโขนง". วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 3(4), 25-38. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    การเล่าเรื่องของ พี่มาก...พระโขนง และสัมพันธบทความเป็น แม่นาคพระโขนง ส.pdf
    หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. (2545). เมื่อสื่อส่องและสร้างวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ศาลาแดง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : เอดิสันเพรสโปรดักส์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สุวภัทร ใจคง. (2564). บทบาทของผีไทยในสังคมเมืองร่วมสมัยในนวนิยายชุด ผีมหานคร. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทบาทของผีไทยในสังคมเมืองร่วมสมัยในนวนิยายชุดผีมหานคร.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Wu Shengyang และ Li Bingbing. (2561). ความคิดแบบปิตาธิปไตยกับการพัฒนาภาพลักษณ์ของผีในวรรณกรรมไทย: กรณีศึกษาจากเรื่องแม่นาก. วารสารศิลปกรรมบูรพา, 21(1-2), 131-147. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    ความคิดแบบปิตาธิปไตยกับการพัฒนาภาพลักษณ์ของผีในวรรณกรรมไทย.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ รังสินี หลักเพชร. (2561). ปัญหาสังคมและปัญหาเยาวชนในวรรณกรรมเยาวชนไทยร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    ปัญหาสังคมและปัญหาเยาวชนในวรรณกรรมเยาวชนไทยร่วมสมัย.pdf
    หนังสือ หรือ ตำรา จุฑาพรรธ์ (จามจุรี) ผดุงชีวิต. (2550). วัฒนธรรม การสื่อสาร และอัตลักษณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ปฐม หงส์สุวรรณ. (2556). นานมาแล้ว มีเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน ชีวิต. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธิการ). (2560). เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน).
    หนังสือ หรือ ตำรา สมสุข หินวิมาน. (2561). คน ระคน ละคร รวมบทวิจารณ์ว่าด้วยคน ความคิด และวัฒนธรรมในละครโทรทัศน์. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน).
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ พลอยชมพู เชาวนปรีชาและฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค. (2561). ภาพลักษณ์ประเทศไทยในภาพยนตร์ฮอลลีวูด. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต ครั้งที่11 ปีการศึกษา2561. (หน้า2040-2051). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรังสิต. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    ภาพลักษณ์ประเทศไทยในภาพยนตร์ฮอลลีวูด.pdf
    หนังสือ หรือ ตำรา ธัญญา สังขพันธานนท์. (2559). แว่นวรรณคดี ทฤษฎีร่วมสมัย. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์นาคร. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ณ ถลาง. (2545). ชนชาติไทในนิทาน แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ