Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS613108
ภาษาไทย
Thai name
คติชนวิทยา
ภาษาอังกฤษ
English name
Folklore
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทางคติชนวิทยาไปใช้ศึกษาข้อมูลคติชนกรณีศึกษาเฉพาะถิ่น
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีความรับผิดชอบการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ทางคติชนวิทยาที่ได้รับมอบหมาย
    • มีวินัยและเคารพต่อความหมายทางคติชนอันหลากหลาย
    • มีเคารพต่อการเข้าถึงข้อมูลทางวิชาการด้วยการอ้างอิงอย่างถูกต้อง
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • นักศึกษาสามารถใช้ทักษะทางคติชนวิทยาและความสามารถในการเข้าถึงความหมายทางวัฒนธรรมในบริบททางการศึกษาวัฒนธรรม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
    • สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูล
    • มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้อย่างสม่ำเสมอในการรวบรวมข้อมูล แปรความหมาย และสื่อสารข้อมูลและแนวความคิด
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ลักษณะ ขอบข่ายและประเภทของคติชน ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับวัฒนธรรม ทฤษฎี และวิธีการศึกษาคติชนวิทยา การเก็บข้อมูลภาคสนามและการวิเคราะห์ข้อมูล งานวิจัยทางด้านคติชนวิทยาคัดสรร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, characteristics, scope, and types of folklore; relations of folklore and culture, theories, and folklore study approaches; fieldworks and data analysis and some selected folklore research studies
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 1. ความรู้พื้นฐานทางคติชนวิทยา
    1.1 ความหมาย ลักษณะ ขอบข่ายของคติชนวิทยา
    1.2 ประเภทของคติชนวิทยา
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • E1: มีความรับผิดชอบการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ทางคติชนวิทยาที่ได้รับมอบหมาย
    • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
    บรรยาย ความรู้พื้นฐานทางคติชนวิทยา ความหมาย ลักษณะ ขอบข่ายทางคติชนวิทยา และประเภทของคติชนวิทยา คติชนวิทยากับชีวิตและวัฒนธรรม

    ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoints หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน และ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ในห้องเรียน
    3-6 2. คติชนวิทยากับวัฒนธรรม
    2.1 คติชนวิทยากับชีวิต
    2.2 บทบาทของคติชนวิทยา
    2.3 พัฒนาการของการศึกษาคติชน
    2.4 คติชนวิทยากับศาสตร์ต่างๆ
    12
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • E1: มีความรับผิดชอบการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ทางคติชนวิทยาที่ได้รับมอบหมาย
    • E2: มีวินัยและเคารพต่อความหมายทางคติชนอันหลากหลาย
    • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูล
    บรรยาย เรื่อง 2.1 คติชนวิทยากับชีวิต
    2.2 บทบาทของคติชนวิทยา
    2.3 พัฒนาการของการศึกษาคติชน
    2.4 คติชนวิทยากับศาสตร์ต่างๆ

    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
    ในห้องเรียน และ
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    7-11 3. วิธีการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทางคติชนวิทยาประเภทต่างๆ
    3.1 วิธีการศึกษาข้อมูลทางคติชนประเภทเรื่องเล่าและศิลปะที่เนื่องด้วยการใช้ถ้อยคำ (narrative and verbal art)
    3.2 วิธีการศึกษาข้อมูลคติชนประเภทศิลปะการแสดง (performing art)
    3.3 วิธีการศึกษาข้อมูลคติชนประเภทประเพณีพิธีกรรม
    4. การเก็บข้อมูลภาคสนาม
    15
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • E1: มีความรับผิดชอบการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ทางคติชนวิทยาที่ได้รับมอบหมาย
    • E2: มีวินัยและเคารพต่อความหมายทางคติชนอันหลากหลาย
    • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูล
    • C3: มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้อย่างสม่ำเสมอในการรวบรวมข้อมูล แปรความหมาย และสื่อสารข้อมูลและแนวความคิด
    บรรยาย เรื่อง วิธีการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทางคติชนวิทยาประเภทต่างๆ ได้แก่
    วิธีการศึกษาข้อมูลทางคติชนประเภทเรื่องเล่าและศิลปะที่เนื่องด้วยการใช้ถ้อยคำ (narrative and verbal art)
    วิธีการศึกษาข้อมูลคติชนประเภทศิลปะการแสดง (performing art)
    วิธีการศึกษาข้อมูลคติชนประเภทประเพณีพิธีกรรม

    ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoints หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน และ ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา

    ในห้องเรียน
    หนังสือ หรือ ตำรา
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    12-15 การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยด้านคติชนวิทยา
    กรณีศึกษาข้อมูลทางคติชนบางประเภทและเปรียบเทียบข้อมูลคติชนในแต่ละท้องถิ่น
    การนำเสนอผลงานการศึกษาทางคติชน
    12
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทางคติชนวิทยาไปใช้ศึกษาข้อมูลคติชนกรณีศึกษาเฉพาะถิ่น
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • S3: นักศึกษาสามารถใช้ทักษะทางคติชนวิทยาและความสามารถในการเข้าถึงความหมายทางวัฒนธรรมในบริบททางการศึกษาวัฒนธรรม
    • C1: มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูล
    • C3: มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้อย่างสม่ำเสมอในการรวบรวมข้อมูล แปรความหมาย และสื่อสารข้อมูลและแนวความคิด
    บรรยาย เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยด้านคติชนวิทยา
    กรณีศึกษาข้อมูลทางคติชนบางประเภทและเปรียบเทียบข้อมูลคติชนในแต่ละท้องถิ่น
    การนำเสนอผลงานการศึกษาทางคติชน


    ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoints หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน

    หนังสือ หรือ ตำรา

    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
    โปรแกรมวีดีทัศน์

    ในห้องเรียน ร่วมกับ

    ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    แบบฝึกปฏิบัติ
    งานเดี่ยว พัฒนาประเด็นการวิจัยทางคติชนวิทยาในประเด็นที่นักศึกษาสนใจ
    สอบกลางภาค เนื้อหาสัปดาห์ที่ 1-6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทางคติชนวิทยาไปใช้ศึกษาข้อมูลคติชนกรณีศึกษาเฉพาะถิ่น
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • S3: นักศึกษาสามารถใช้ทักษะทางคติชนวิทยาและความสามารถในการเข้าถึงความหมายทางวัฒนธรรมในบริบททางการศึกษาวัฒนธรรม
    30 สัปดาห์ที่ 7 สอบกลางภาค
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    งานเดี่ยว
    งานกลุ่ม
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทางคติชนวิทยาไปใช้ศึกษาข้อมูลคติชนกรณีศึกษาเฉพาะถิ่น
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • S3: นักศึกษาสามารถใช้ทักษะทางคติชนวิทยาและความสามารถในการเข้าถึงความหมายทางวัฒนธรรมในบริบททางการศึกษาวัฒนธรรม
    30 สัปดาห์ที่ 16 สอบปลายภาค
    รายงานผลการศึกษาวิจัยทางคติชนวิทยา ในรูปแบบรายงาน บทความทางวิชาการและวิดีโอคลิป
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องที่มาของข้อมูลทางคติชนประเภทต่างๆ
    • K2: นักศึกษามีความเข้าใจลักษณะและความสัมพันธ์ของข้อมูลทางคติชนกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทางคติชนวิทยาไปใช้ศึกษาข้อมูลคติชนกรณีศึกษาเฉพาะถิ่น
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ และประเมินข้อมูล เพื่อนำไปสู่การสรุปประเด็นการศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมในสังคมท้องถิ่นตามแนวทางคติชนวิทยา
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นปัญหาที่เป็นกรณีศึกษาได้อย่างเป็นระบบ
    • S3: นักศึกษาสามารถใช้ทักษะทางคติชนวิทยาและความสามารถในการเข้าถึงความหมายทางวัฒนธรรมในบริบททางการศึกษาวัฒนธรรม
    40 สัปดาห์ที่ 7-15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ฐิตะฐาน. (2542). โครงการประเมินสถานภาพไทศึกษา: คติชาวบ้านและวรรณกรรม. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ
    วิจัย. 2540-2541.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ฐิตะฐาน. (2540). การวิเคราะห์ตำนานการสร้างโลกของคนไท. มหาวิทยาลัยสุโขทัย. นนบุรี อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง และ สุกัญญา สุจฉายา. (2543). คติชนในภาพเชิงบานหน้าต่างพระอุโบสถวัดพระ เชตุพน. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง, ประคอง นิมมานเหมินท์ และ สุกัญญา สุจฉายา. (2545). วัฒนธรรมข้าวของชนชาติไท: ภาพสะท้อนจากตำนานนิทาน เพลง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ณ ถลาง และ สุกัญญา สุจฉายา.(2545). การสร้างสรรค์คติชนสมัยใหม่ในบริบทของสังคมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544-2545.

    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง. (ร่วมกับประคอง นิมมานเหมินท์ และสุกัญญา สุจฉายา) (2545). วัฒนธรรม ข้าวของชนชาติไท : ภาพสะท้อนจากตำนาน นิทาน เพลง, สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ฐิตะฐาน. (2523). ทฤษฎีการแพร่กระจายของนิทาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะ กรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ฐิตะฐาน ณ ถลาง. (2537). ในท้องถิ่นมีนิทานและการละเล่น: การศึกษาคติชนวิทยาในปริบททางสังคม. ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: มติชน. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ฐิตะฐาน. (2532). ระบบครอบครัวและเครือญาติในสังคมไทย. ใน ชุดวิชาสังคมและ วัฒนธรรมไทย. เล่ม 1 หน่วย 6 . นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ฐิตะฐาน. (2532). แนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. ใน ชุดวิชาความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. เล่ม 1 หน่วย 1. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ฐิตะฐาน. (2534). แนวทางการวิเคราะห์คติชาวบ้าน. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ฐิตะฐาน. (2534). ขอบเขตและสถานภาพของไทยคดีศึกษา. ใน ชุดวิชาประสบการณ์ไทยคดีศึกษา. เล่ม 1 หน่วยที่ 1. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง. (2537). สังคมไทย: ความเป็นมา ภาวะวิกฤตและทิศทางความเป็นไป. ใน ชุดวิชาไทยศึกษา เล่มปรับปรุง. กรุงเทพฯ: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง. (2537). การศึกษาคติชนในปริบททางสังคม. ใน สารัตถและวิทยวิธีทางวิชาภาษาไทย. กรุงเทพฯ: บัณฑิตศึกษา สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง. (2544). การศึกษานิทานเชิงโครงสร้าง. ใน ไวยากรณ์ของนิทาน: การศึกษานิทานเชิงโครงสร้าง. กรุงเทพฯ: ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง และ พิชญาณี เชิงคีรี. (2544). ทฤษฎีโครงสร้างนิทานของวลาดิมีร์ พรอพพ์. ใน ไวยากรณ์ของนิทาน: การศึกษานิทานเชิงโครงสร้าง. กรุงเทพฯ: ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ศิราพร ณ ถลาง. ชนชาติไทในนิทาน: แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน. ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: มติชน, 2545. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Siraporn Nathalang, (ed.) (2545). Thai Folklore: Insights into Thai Culture. Bangkok: Chulalongkorn University Press, 2000. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ศิราพร ณ ถลาง . (2545). ชนชาติไทในนิทาน : แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน . มติชน . อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสาร “สังคมลุ่มน้ำโขง” จัดพิมพ์โดยศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    มหาวิทยาลัยขอนแก่น
    อาจารย์ภายในคณะ
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ วารสาร “อารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน” (Mekong-Salween civilization studies)
    (http://www.gotoknow.org/blogs/posts/419569)
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา (http://www.gdrif.org) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ศูนย์แม่โขงศึกษา ภายใต้สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Academia.edu | Papers in Mekong Studies (http://academia.edu/Papers/in/Mekong_Studies) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ The Mekong Sub-region Social Research Center (http://www.mssrc.la.ubu.ac.th) อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

    รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
    1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
    1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
    2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
    2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
    2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
    3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
    3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
    3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
    5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
    5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
    5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ