รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาไทย
Thai
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2564
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-3 |
ความรู้เบื้องต้นเรื่องความหลากหลายทางเพศ 1. ความหมาย / ประเภท / เพศวิถี / ศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้อง 2. แนวความคิดเกี่ยวกับการศึกษาความหลากหลายทางเพศ - จิตวิทยา / ชีววิทยา - การแพทย์ / สังคมวิทยา 3. ทัศนคติต่อความหลากหลายทางเพศจากอดีตจนปัจจุบัน |
9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยาย 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3.ทำแบบฝึกหัด สื่อ 1.บทวิจัย หรือบทความวิชาการ 2.YouTube ช่องทางการสอน 1.ในห้องเรียน |
|
4-6 |
ความหลากหลายทางเพศในวรรณคดีไทย -ลักษณะความหลากหลายทางเพศที่ปรากฏในวรรณคดีไทย -ความสัมพันธ์กับสังคม |
9 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยาย 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3.ทำแบบฝึกหัด สื่อ 1.บทวิจัย หรือบทความวิชาการ 2.YouTube ช่องทางการสอน 1.ในห้องเรียน |
|
7-10 |
ความหลากหลายทางเพศในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย -ลักษณะความหลากหลายทางเพศที่ปรากฏวรรณกรรมไทยร่วมสมัย -ภาพตัวแทนและความสัมพันธ์กับสังคม |
12 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยาย 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3.ทำแบบฝึกหัด สื่อ 1.บทวิจัย หรือบทความวิชาการ 2.YouTube ช่องทางการสอน 1.ในห้องเรียน |
|
11-14 |
ความหลากหลายทางเพศในวรรณกรรมต่างประเทศ -ลักษณะความหลากหลายทางเพศที่ปรากฏวรรณกรรมต่างประเทศ -ภาพตัวแทนและความสัมพันธ์กับสังคม |
12 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.บรรยาย 2.อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3.ทำแบบฝึกหัด สื่อ 1.บทวิจัย หรือบทความวิชาการ 2.YouTube ช่องทางการสอน 1.ในห้องเรียน |
|
15 | นักศึกษานำเสนอรายงานเรื่องวรรณกรรมกับความหลากหลายทางเพส | 3 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.นักศึกษานำเสนอรายงาน ช่องทางการสอน 1.ในห้องเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย |
|
10 | |
แบบฝึกหัดเก็บคะแนน |
|
30 | |
การนำเสนอรายงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย |
|
20 | |
สอบกลางภาค |
|
20 | |
สอบปลายภาค |
|
20 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
อริน พินิจวรารักษ์. (2527). การใช้เรื่องรักร่วมเพศในนวนิยายไทย พ.ศ.2516 – พ.ศ.2525. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นิตยา เข็มเพชร. (2535). วิเคราะห์สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมรักร่วมเพศชายของตัวละครในนวนิยายไทย ตามหลักจิตวิทยา. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
นัยน์ปพร จงสมจินต์. (2550). ตัวละครรักร่วมเพศหญิงในนวนิยายไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | อรทัย เพียยุระ (2561).วรรณกรรมกับเพศภาวะ.ขอนแก่น:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุไลพร ชลวิไล. “หญิงรักหญิง : ผู้หญิงของความเป็นอื่น,” ชีวิตชายขอบ : ตัวตนกับความหมาย กรณีศึกษาเกย์ หญิงรักหญิง คนชรา คนเก็ยขยะ วัยรุ่น เด็กข้างถนน. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2545. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 5.4 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
1.2 ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1 มีความรอบรู้ในภาษาไทย ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม
2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการทางวิชาการกับทักษะวิชาชีพ
2.3 รู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการถ่ายทอดภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.5 มีความรู้ความเข้าใจวรรณกรรมและสามารถสร้างสรรค์วรรณกรรมได้
3. ผลการเรียนรู้ด้านปัญญา
3.1 มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินค่า
3.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาษาไทยในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/อาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ หรือรายวิชาศึกษาทั่วไป
5.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning และการทดสอบความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
5.3 ฝึกการนำเสนอผลที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ