Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศูนย์ภาษาอาเซียน
Asean Language Center
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2557
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS921101
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาลาว 1
ภาษาอังกฤษ
English name
LAOTIAN I
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศูนย์ภาษาอาเซียน (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2557)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์
    • นางสาวประภัสสร สวัสดี
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    ทักษะ
    Skills
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ลักษณะภาษา โครงสร้าง และศัพท์พื้นฐานในภาษาลาว การฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ การอ่านและเขียนข้อความสั้นๆ ในภาษาลาว
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Characteristics, structure, basic vocabularies in Lao language; listening and speaking of Lao in various situations; reading and writing short notes in Lao
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชาและข้อตกลงเบื้องต้น
    บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
    3
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียน flibbed classroom และการส่งงานผ่าน google classroom และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน
    (2) ฝึกร้องเพลงชาติลาวร่วมกัน และแนะนำสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผ่าน VDO clip
    (3) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 2 ประกอบกับ VDO clip บันทึกการสอนบทที่ 2 ผ่าน google classroom พร้อมฝึกเขียนพยัญชนะและสระภาษาลาว
    (4) มอบหมายให้นักศึกษา Load font ภาษาลาว ลงในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของตน เพื่อเตรียมฝึกพิมพ์งานที่ได้รับมอบหมาย
    (5) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    2-4 บทที่ 2 ลักษณะภาษาลาว 9
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
    (2) ฝึกเขียนตัวอักษรภาษาลาว และฝึกพิมพ์ตัวอักษรภาษาลาว
    (3) นักศึกษาฝึกพิมพ์ชื่อ นามสกุล และชื่อเล่นของตน
    (4) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามจากเนื้อหาบทที่ 2
    (5) มอบหมายให้นักศึกษาพิมพ์ประวัติย่อของตนเองส่งผ่าน Google Form
    (6) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนในบทที่ 3 ประกอบกับ VDO clip บันทึกการสอนบทที่ 3
    (7) มอบหมายให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2
    (8) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    5-6 บทที่ 3 โครงสร้างภาษาลาว 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน อภิปรายและตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในบทที่ 3
    (2) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามจากแบบฝึกหัดที่กำหนดให้
    (3) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาคำศัพท์พื้นฐานภาษาลาวในบทที่ 4 มาก่อนเข้าเรียน
    ในสัปดาห์ที่ 7
    (4) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    7-8 บทที่ 4 คำศัพท์พื้นฐาน 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
    (2) นำเข้าสู่เนื้อหาบทที่ 4 ด้วยการตอบคำถามในเกม Kahoot
    (3) สุ่มนักศึกษาตอบคำถามจากเนื้อหาในบทที่ 4
    (4) มอบหมายให้นักศึกษาผลิต video clip นำเสนอคำศัพท์ภาษาลาวในบทที่ 4 เป็นข้อสอบกลางภาค (25 คะแนน) ส่งใน google classroom
    (5) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 5 ประกอบกับ VDO clip บันทึกการสอนบทที่ 5 ก่อนเข้าชั้นเรียนในสัปดาห์ที่ 10
    (6) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    9 สอบกลางภาค 3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    สอบกลางภาคโดยส่งเป็นผลงานการทำ video clip นำเสนอคำศัพท์ภาษาลาวในบทที่ 4 (25 คะแนน) ผ่าน google classroom ตามวันเวลาที่กำหนด
    10 บทที่ 5 การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่าง ๆ 3
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
    (2) นำเข้าสู่เนื้อหาบทที่ 5 ด้วยการตอบคำถามในเกม Kahoot
    (3) สุ่มนักศึกษาสนทนาโต้ตอบด้วยบทสนทนาภาษาลาวกับผู้สอน และให้นักศึกษาสนทนาโต้ตอบกันเองตามสถานการณ์ที่กำหนดให้
    (4) มอบหมายให้นักศึกษาจับคู่สนทนาตามหัวข้อที่กำหนดให้ และบันทึก VDO clip เพื่อนำเสนอในสัปดาห์ที่ 11 โดยมีความยาว 2-5 นาที และระบุคำศัพท์จากบทสนทนาที่น่าสนใจ
    (5) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    11-12 บทที่ 5 การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่าง ๆ (ต่อ) 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นรียน
    (2) นักศึกษานำเสนอ VDO clip การสนทนา
    (3) ผู้สอนสุ่มถามนักศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาใน VDO clip ที่เพื่อนนำเสนอ
    (4) มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาเอกสารประกอบการสอนบทที่ 6 ประกอบกับ VDO clip บันทึกการสอนบทที่ 6
    (5) มอบหมายให้นักศึกษาพิมพ์เรียงความเกี่ยวกับ สปป.ลาว ( 10 คะแนน) ในหัวข้อที่ตนสนใจ ความยาว 1 หน้ากระดาษ A4 ส่งใน google classroom ตามวันเวลาที่กำหนด
    (6) มอบหมายให้นักศึกษาจับกลุ่ม 3-5 คน อ่านเก็บใจความสำคัญจากเนื้อหาที่ผู้สอนกำหนดให้ แล้วนำมาสรุปเป็น Presentation นำเสนอในชั้นเรียน เพื่อนำเสนอในสัปดาห์ที่ 13-16 โดยพูดนำเสนอเป็นภาษาลาว และพิมพ์คำบรรยายใน Presentation เป็นภาษาลาว
    (7) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    13-16 บทที่ 6 การอ่านและการเขียน
    การนำเสนองานกลุ่ม
    12
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    (1) พบนักศึกษาในชั้นเรียน
    (2) นักศึกษานำเสนอ Presentation
    (3) ผู้สอนและนักศึกษาอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหาใน Presentation ของแต่ละกลุ่มร่วมกัน
    (4) สรุปสาระสำคัญในบทที่ 5-6
    (5) มอบหมายให้นักศึกษาผลิตผลงานเป็นข้อสอบปลายภาค (25 คะแนน) โดยการนำความรู้ภาษาลาวทีได้รับผลิตเป็น presentation ในรูปแบบที่ตนถนัดและสนใจ ตามเงื่อนไขที่กำหนด ส่งใน google classroom ตามวันเวลาที่กำหนด
    (6) เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัย
    รวมจำนวนชั่วโมง 48 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมใน Discussion Forum
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    20 สัปดาห์ที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16

    การนำเสนอ VDOclip การสนทนา
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    10 สัปดาห์ที่ 11-12
    การนำเสนอ Presentation
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    20 สัปดาห์ที่ 13-16
    สอบกลางภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    25 สัปดาห์ที่ 9
    lสอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษา โครงสร้าง คำศัพท์พื้นฐานภาษาลาว การฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ
    • S1: เพื่อให้นักศึกษาสามารถฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    • S2: เพื่อให้นักศึกษาสามารถอ่านและเขียนข้อความภาษาลาวเบื้องต้นได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม
    • E2: นักศึกษามีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมภาษาไทย และภาษาลาวที่แตกต่างกัน
    25 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา กตัญญู ชูชื่น. 2542. ภาษาลาวเบื้องต้น1. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฎเพชรบุรี.
    หนังสือ หรือ ตำรา กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์. 2561. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาลาวขั้นต้น. พิมพ์ครั้งที่ 4. แอนนาออฟเซ็ทการพิมพ์ : ขอนแก่น.
    หนังสือ หรือ ตำรา ดวงจัน วันนะบุบผา. 2006. เฮียนอ่านเฮียนเขียนพาสาลาว. (พิมพ์ครั้งที่ 2). เวียงจัน :โฮงพิมหนุ่มลาว.
    หนังสือ หรือ ตำรา ทองเพ็ด กิ่งสะดา และคนอื่นๆ. 1990. กองปะชุมโตะมนวิทะยาสาด เกี่ยวกับ พาสาลาว. เวียงจัน : โฮงพิมแห่งลัด.
    หนังสือ หรือ ตำรา บัวลา สุลิยะบับผา. 2005. มอละดกล้านซ้าง LANE XANG HERITAGE. (ฉบับที่6) เวียงจัน : โฮงพิมแห่งลัด.
    หนังสือ หรือ ตำรา บุนถัน สีนะวงส์. 2007. คำสับเค้าลาว ที่มาจาก บาลี-สันสะกิด. France : Tous droits de reproduction et de traduction reserves pour tous pays.
    หนังสือ หรือ ตำรา รัตนา จันทร์เทาว์. (2560). พัฒนาการภาษาลาว. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    หนังสือ หรือ ตำรา เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. 2542. ภาษาลาวเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา วริษา กมลนาวิน. 2559. ฝึกทักษะภาษาลาวเวียงจันทน์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา วิเชียร อำนพรักษ์. 2547. ภาษาลาวพื้นฐาน 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
    หนังสือ หรือ ตำรา ศรีเวียงแขก กรนนีวงศ์. 2548(2005). คู่มือเรียนหนังสือลาว – ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. เวียงจันทน์ : สำนักพิมพ์และจำหน่ายหนังสือแห่งรัฐ ส.ป.ป.ลาว.(2copy)
    หนังสือ หรือ ตำรา สมแสง ไซยะวง. 2005. สึกสากานยืมคำในพาสาลาว (STUDY ON WORD BORROWING IN LAO LANGUAGE). เวียงจัน : โฮงพิมมันทาตุลาด.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.kplnet.net
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.vientianemai.net
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.lao.voanews.com
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.Lao44.org
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.seasite.niu.edu/lao/LaoLanguage/Lao_language_fp.htm
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://www.youtube/LAONEWS
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)