Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศูนย์ภาษาอาเซียน
Asean Language Center
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2557
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS921102
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาลาว 2
ภาษาอังกฤษ
English name
LAOTIAN II
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS921101#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • เลือกเสรี (Free elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
ศูนย์ภาษาอาเซียน (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2557)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์
    • นางสาวประภัสสร สวัสดี
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยรัตน์ อุ่นทานนท์
    • นางสาวประภัสสร สวัสดี
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • มีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    ทักษะ
    Skills
    • สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ลักษณะภาษา โครงสร้าง และศัพท์พื้นฐานในภาษาลาว การฟังและพูดภาษาลาวในสถานการณ์ต่างๆ การอ่านและเขียนข้อความสั้น ๆ ในภาษาลาว
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Language characteristics; structures; basic vocabulary in Lao language; listening and speaking of Lao in various situations; reading and writing short notes in Lao
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    • Flipped classroom
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ชี้แจงรายละเอียดวิชา วิธีการเรียน และการวัดประเมินผลการเรียน
    บทที่ 1 ลักษณะภาษาลาว
    - ตระกูลภาษา
    - อักษรและการใช้
    - คำ และประโยค
    - ภาษาลาวและภาษาถิ่น
    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. บรรยายทบทวนความรู้เกี่ยวกับลักษณะภาษาลาว
    2. เล่นเกม Kahoot ทบทวนคำศัพท์ภาษาลาว
    3. ทำกิจกรรมท้ายบท ซักถามข้อสงสัยหลังจากเฉลยแบบฝึกหัด
    3-4 บทที่ 2 การพัฒนาทักษะการฟัง
    - การฟังการสนทนา
    - การฟังข่าวรายการวิทยุ
    - การฟังรายการโทรทัศน์
    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. ฝึกจับใจความสำคัญจากบทสนทนาที่กำหนดให้
    2. ฝึกจับใจความสำคัญ ตีความและประเมินค่าสารที่ได้รับฟังจากรายการวิทยุที่กำหนดให้
    3. ฝึกจับใจความ ตีความ และประเมินค่าสารที่ได้รับชมจากรายการโทรทัศน์ที่กำหนดให้
    4. อภิปรายซักถามข้อสงสัย
    5-6 บทที่ 3 การพัฒนาทักษะการพูดในโอกาสต่าง ๆ
    - การพูดระหว่างบุคคล
    - การพูดแนะนำตัว
    - การพูดแสดงความคิดเห็น
    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S2: สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. รับชมวีดิทัศน์ตัวอย่างบทสนทนาในสถานการณ์ต่างๆ
    2. อภิปราย ซักถามข้อสงสัยจากเนื้อหาในวีดิทัศน์
    3. จับคู่สนทนาตามบทบาทสมมุติที่กำหนดให้
    4. ฝึกพูดแนะนำตัว
    5. ฝึกพูดแสดงความคิดเห็นจากประเด็นที่กำหนดให้

    7-8 บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการอ่าน
    - การอ่านข่าว
    - การอ่านบทความ
    - การอ่านเรื่องสั้น
    - การอ่านนิทาน
    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากข่าวที่กำหนดให้อ่าน
    2. อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากบทความที่กำหนดให้อ่าน
    3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากเรื่องสั้นที่กำหนดให้อ่าน
    4. อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากนิทานที่กำหนดให้อ่าน
    5. ใช้ภาษาลาวในการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
    9-10 บทที่ 5 การพัฒนาทักษะการเขียน
    - การเขียนบทความ
    - การเขียนแสดงความคิดเห็น
    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. ฝึกเขียนบทความ
    2. ฝึกเขียนแสดงความคิดเห็นจากประเด็นที่กำหนดให้
    3. แลกเปลี่ยนกันอ่านบทความ และงานเขียนแสดงความคิดเห็นจากงานของเพื่อนในชั้นเรียน
    4. อภิปรายแสดงความคิดเห็น และประเมินค่าสารจากผลงานการเขียนของเพื่อนในชั้นเรียน
    11-12 บทที่ 6 การแปลภาษาลาว-ไทย
    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. ฝึกแปลข่าว บทความ เรื่องสั้น และนิทานจากภาษาลาว เป็นภาษาไทย
    2. ซักถามอภิปรายถึงข้อสงสัยทั้งคำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างประโยคที่แตกแต่างกันระหว่างภาษาลาว และภาษาไทย จากสารต่างๆ ที่กำหนดให้แปล

    13-15 นำเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้าตามประเด็นที่สนใจ
    9
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • E2: มีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    • C1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    1. นักศึกษานำเสนอผลงานการศึกษาตามประเด็นที่สนใจ
    2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เพื่อนในชั้นเรียนนำเสนอ
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การอภิปรายซักถาม และแบบฝึกหัด
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    20 ทุกสัปดาห์
    กิจกรรมการสนทนา การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • E2: มีจริยธรรมทางด้านวิชาการ ไม่นำงานของผู้อื่นมาเป็นงานของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และต้องอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    30 สัปดาห์ที่ 5-6, 13-15
    ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • K2: อภิปรายความความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรมลาวได้
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถในการคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A1: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของลาวและไทย
    50 ตามปฏิทินการศึกษา
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา รัตนา จันทร์เทาว์. (2559). เอกสารคำสอน ภาษาลาว 2. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา วริษา กมลนาวิน. (2544). ฝึกทักษะภาษาลาวเวียงจันทน์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา วิเชียร อำพนรักษ์. (2547). ภาษาลาวพื้นฐาน 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    เอกสารประกอบการสอน สาริสา อุ่นทานนท์. (2551). เอกสารประกอบการสอน ภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร 1. ขอนแก่น: แอนนา ออฟเซต.
    อาจารย์ภายในคณะ
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)