รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
ศูนย์ภาษาอาเซียน
Asean Language Center
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรใหม่ ปี พ.ศ.
2557
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
ชี้แจงรายละเอียดวิชา วิธีการเรียน และเกริ่นเนื้อหา 1. ลักษณะภาษาบาฮาซา อินโดนีเซีย 1.1 ตัวอักษร 1.2 สระ 1.3 การประสมอักษร |
3 |
|
- เข้าใจวิธีการเรียน กฎและกติกา - บอกลักษณะภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียทั้งพยัญชนะและสระได้ - อธิบายการประสมอักษรในภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียได้ |
|
2 |
2. โครงสร้างของภาษาบาฮาซา อินโดนีเซีย 2.1 ระบบเสียง 2.2 ระบบคำ 2.3 ระบบประโยค |
3 |
|
- อภิปราย และซักถามเกี่ยวกับโครงสร้างของภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียโดยเน้นระบบเสียง ระบบคำ และระบบประโยค - อธิบายโครงสร้างของภาษาบาฮา อินโดนีเซียซาทั้งระบบเสียง ระบบคำ และระบบประโยคได้ |
|
3-4 | 3. การทักทายและบทสนทนาเบื้องต้นในภาษาบาฮาซา อินโดนีเซีย | 6 |
|
ให้สามารถสื่อสารด้วยภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียง่ายๆในเบื้องต้นได้ - บรรยาย - ทำงานกลุ่ม - จับคู่ฝึกบทสนทนา |
|
5-7 |
4. คำศัพท์พื้นฐานในภาษาบาฮาซาอินโดนีเซีย 4.1 ครอบครัวและเครือญาติ 4.2 เวลาและสถานที่ 4.3 การถามทาง 4.4 อาหาร 4.5 ตัวเลขและเงินตรา 4.6 ภูมิอากาศ |
9 |
|
ฝึกอ่านและเขียนคำศัพท์พื้นฐาน โดยผูกประโยคอย่างง่ายที่ใช้คำศัพท์ที่มักใช้ในชีวิตประจำวัน อ่านและเขียนคำศัพท์พื้นฐานได้อย่างน้อยร้อยละ 80 ของคำศัพท์ทั้งหมดที่เรียน |
|
8-11 |
5. การฟังและพูดภาษาบาฮาซา อินโดนีเซียในสถานการณ์ต่างๆ 5.1 การทักทายและแนะนำตัว 5.2 การสนทนาที่โรงแรม 5.3 การสนทนาที่ร้านอาหาร 5.4 การถามทาง 5.5 พบแพทย์ 5.6 เล่มเกมส์ |
12 |
|
อธิบาย และฝึกฟังและพูดภาษาบาฮาซาในสถานการณ์ต่างๆที่ใช้ในชีวิตประจำวัน สมารถฟังและพูดภาษาบาฮาซาในสถานการณ์ต่างๆอย่างง่ายได้ |
|
12-15 |
6. การอ่านและเขียนข้อความสั้นๆ 6.1 อ่านเรื่องสั้นและการ์ตูน 6.2 การเขียนโน้ตสั้น 6.3 การเขียนจดหมาย 6.4 การบรรยายภาพ |
12 |
|
อธิบายและฝึกปฏิบัติโดยอ่านและเขียนข้อความสั้นๆที่ใช้คำศัพท์พื้นฐาน สามารถอ่านและเขียนภาษาบาฮาซาเป็นข้อความสั้นๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
แบบฝึกปฏิบัติ |
|
40 | สัปดาห์ที่ 3, 6, 9 , 12 |
รายงาน |
|
20 | สัปดาห์ที่ 15 |
การสอบกลางภาค |
|
20 | สัปดาห์ที่ 8 |
การสอบปลายภาค |
|
20 | ตามปฎิทิน |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
พงศธร ร่วมสุข และประชา เทพบุญตา. (2556). สนทนาภาษาอาเซียน “ภาษาอินโดนีเซีย” เพื่อการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท อีเกิ้ลไรท์ จำกัด. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ทีมนักวิชาการอาเซียน. (2556). Survivor อาเซียน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement