Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS411301
ภาษาไทย
Thai name
หลักรัฐศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
PRINCIPLES OF POLITICAL SCIENCE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ชนะวิทย์ อนุสุเรนทร์
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
    • พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    ทักษะ
    Skills
    • ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    บทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, development, and scope of political science, relationship between political science and other social sciences disciplines, core theories and concept of political sciences, concepts of state and sovereignty, political power, relationship between a state and an individual, political ideologies, political institutions and processes, political culture and behaviors
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 การแนะนำรายวิชา

    บทที่ 1 ความหมายและขอบเขตของรัฐศาสตร์
    - ความหมายและขอบเขตของการศึกษาทางรัฐศาสตร์
    -พัฒนาการของการศึกษาทางรัฐศาสตร์
    - ความสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงสาขาวิชาทางรัฐศาสตร์กับศาสตร์อื่น
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) เพื่อชี้แจงและแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนรวมถึงอธิบายรายละเอียดของรายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อตกลงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาและการวัดผลการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    (2) การบรรยายเนื้อหาon site
    (3) มอบหมายงานนักศึกษาอภิปรายร่วมกันในกระดานสนทนา 1: ความหมายและขอบเขตของรัฐศาสตร์” และส่งผลการอภิปรายอย่างย่อกลับมาที่ผู้สอนตามช่องทางที่กำหนด
    (4) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 1 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 1 ความหมายและขอบเขตของรัฐศาสตร์” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (5) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย
    ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    3-4 บทที่ 2 แนวความคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง
    -ความหมายของแนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง
    -พัฒนาการของแนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมืองขั้นแนะนำ
    - สมัยโบราณ
    - สมัยกลาง
    - สมัยใหม่
    - การวิพากษ์แนวหลังสมัยใหม่


    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) การบรรยายเนื้อหา
    (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกัน แนวความคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง”
    (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 2 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 2 แนวความคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (4) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย
    ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    5 บทที่ 3 รัฐและอำนาจทางการเมือง
    - แนวคิดเรื่องรัฐ อำนาจอธิปไตย รูปแบบรัฐ และระบอบการเมือง
    - การเมืองและความเป็นการเมือง
    - แนวความคิดเรื่องอำนาจ
    - ความสัมพันธ์ของการเมืองตามแนวเศรษฐกิจการเมือง
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) การบรรยายเนื้อหา
    (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกัน รัฐและอำนาจทางการเมือง”
    (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 3 รัฐและอำนาจทางการเมือง” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (4) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย
    ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    6 บทที่ 4 ประชาธิปไตยและความท้าทายในโลกร่วมสมัย
    - ความหมายและแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับประชาธิปไตย
    - องค์ประกอบของประชาธิปไตย
    - รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยในโลกร่วมสมัย
    - ความท้าทายทางสังคมของระบอบประชาธิปไตย
    3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) การบรรยายเนื้อหา
    (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกัน: ประชาธิปไตยและความท้าทายในโลกร่วมสมัย”
    (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 4 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 4 ประชาธิปไตยและความท้าทายในโลกร่วมสมัย” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (4) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย
    ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    7-8 บทที่ 5 สถาบันและกลไกทางการเมือง
    - ความหมายและความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถาบันทางการเมือง
    - โครงสร้างของสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
    - องค์กรอิสระ
    - ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน กลไก และโครงสร้างทางการเมือง
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) การบรรยายเนื้อหา
    (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกัน: สถาบันและกลไกทางการเมือง”
    (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 5 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 5 สถาบันและกลไกทางการเมือง” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (4) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย
    ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    9-10 บทที่ 6 รัฐประศาสนศาสตร์
    - ความหมายและขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์
    - แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานทางรัฐประศาสนศาสตร์
    - ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางการเมืองและการบริหาร
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) การบรรยายเนื้อหา
    (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกัน: รัฐประศาสนศาสตร์”
    (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 6 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 6
    รัฐประศาสนศาสตร์” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (4) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    11-12 บทที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    - ความหมายและขอบข่ายของการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    - แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    - แนววิเคราะห์การเมืองระหว่างประเทศร่วมสมัย
    - กรณีศึกษาสถานการณ์โลกปัจจุบัน
    6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) การบรรยายเนื้อหา
    (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกัน: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ”
    (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 7 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของ Assignment “บทที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน
    (4) ผู้สอนสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย
    ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
    (5) ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อไปศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์และประเด็นที่เกี่ยวข้อง โดยให้คัดเลือกหัวข้อที่สนใจและจัดทำโครงร่างการนำเสนอรายงานส่งให้ผู้สอนและนัดพบเพื่อปรึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาต่อไป
    13-14 การนำเสนอรายงานกลุ่มของนักศึกษา (จำนวน 7 กลุ่ม) 6
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • K3: สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่มของนักศึกษา
    (2) การนำเสนอและอภิปรายถามตอบผลการศึกษาของแต่ละกลุ่ม
    (3) ผู้สอนชี้แจงการปรับปรุงรายงานและกำหนดการส่งรายงาน และรูปแบบการจัดสอบปลายภาค
    15 สรุปบทเรียนและอภิปรายรวบยอดรายวิชา 3
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • K3: สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    (1) ผู้สอนให้ข้อเสนอแนะและสรุปผลการเรียนรู้ในภาพรวมของรายวิชา
    (2) ร่วมกันแลกเปลี่ยนและสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    (3) ผู้สอนชี้แจงเกี่ยวกับรูปแบบการจัดสอบปลายภาค
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • K3: สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    10
    การทำรายงานสรุปและการนำเสนอการค้นคว้าเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์และประเด็นที่เกี่ยวข้อง
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • K3: สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    30 นำเสนอสัปดาห์ที่ 13-14
    ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์สัปดาห์ที่ 15
    การสอบกลางภาค
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    30
    การสอบปลายภาค
    • K1: ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทนิยาม พัฒนาการ และขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์กับศาสตร์ทางสังคมอื่น ทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์ แนวคิดรัฐและอำนาจอธิปไตย อำนาจทางการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและบุคคล อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันและกระบวนการทางการเมือง พฤติกรรมและวัฒนธรรมทางการเมือง
    • K2: มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    • K3: สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ อภิปราย และยกตัวอย่างในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ได้
    • S2: สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
    • E1: พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    • C1: นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความท้าทายร่วมสมัยที่มีต่อประชาธิปไตย
    • C2: สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • C3: สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
    • C4: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2550). หลักรัฐศาสตร์. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา จักรพันธุ์ วงษ์บูรณาวาทย์. (2545). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 5. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
    หนังสือ หรือ ตำรา ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2551).รัฐศาสตร์แนววิพากษ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา บูฆอรี ยีหมะ. (2559). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร. (2547). รัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2552). รัฐศาสตร์การเมือง : เสี้ยวหนึ่งของประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : อินทภาษ.
    หนังสือ หรือ ตำรา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2548).เอกสารการสอนชุดวิชา หลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ 81311 หน่วยที่ 1-7 (ฉบับปรับปรุง). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
    หนังสือ หรือ ตำรา ลิขิต ธีรเวคิน. (2551). การเมืองการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา สนธิ เตชานันท์. (2543). พื้นฐานรัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา อานนท์ อาภาภิรม. (2545). รัฐศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
    หนังสือ หรือ ตำรา เอกวิทย์ มณีธร. (2552). รัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ท ที เพรส.
    หนังสือ หรือ ตำรา Heywood, Andrew. (2012). Political ideologies: an introduction. New York: Palgrave Macmillan. Slann, Martin. (1998). Introduction to Politics. Boston: McGraw-Hill.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
    1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

    3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
    3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
    4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
    4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
    5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
    5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
    5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ