Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS412405
ภาษาไทย
Thai name
การบริหารการประกอบการทางสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
Social Entrepreneurship Administration
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ นวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ กรณีศึกษาทั้งของไทยและต่างประเทศ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Definition and the development of social entrepreneurship concept; the importance of social entrepreneurship to public administration; Social innovation and public policy; Case studies in Thailand and other countries
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ชี้แจงวิธีการเรียน การสอนและการประเมินผล 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ 6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    1. การพบนักศึกษาในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนการสอน และการส่งงาน ตลอดจนเกณฑ์การประเมินผล
    2. การอธิบายประมวลรายวิชา จุดประสงค์ของการเรียนรู้ และโลกทัศน์ที่ดีต่อการเรียนรู้ แนะนำวิธีการเรียน การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้
    3. การอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ
    3-4 พัฒนาการของแนวคิด ประเภท คุณลักษณะ และเครื่องมือการประกอบการทางสังคม
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
    2. การอธิบายและอภิปรายบริบทเกี่ยวกับพัฒนาการของแนวคิด ประเภท คุณลักษณะ และ เครื่องมือการประกอบการทางสังคม
    3. อภิปรายในชั้นเรียน/แบบฝึกหัด
    5-8 การประกอบการทางสังคมกับการบริหารสาธารณะ :
    แนวคิด ตัวแบบ บทบาทการประกอบการทางสังคมในกระบวนการการบริการสาธารณะ
    ความท้าทายในการบริการสาธารณะในศตวรรษที่ 21
    12
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom เกี่ยวกับการประกอบการทางสังคมกับการบริหารสาธารณะ ในประเด็น แนวคิด ตัวแบบ บทบาทการประกอบการทางสังคมในกระบวนการการบริการสาธารณะ ความท้าทายในการบริการสาธารณะในศตวรรษที่ 21
    2. การอภิปรายแลกเปลี่ยนในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom
    3. การนำเสนองานกลุ่ม
    9-11 นวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ:
    แนวคิด พัฒนาการของนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ
    แนวคิดการลงทุนทางสังคม (Social Investment)
    แนวคิดการกินดีอยู่ดีทางสังคม (Social Wellbeing)
    กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ
    9
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom เกี่ยวกับนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ ในประเด็น แนวคิด พัฒนาการของนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ แนวคิดการลงทุนทางสังคม (Social Investment) แนวคิดการกินดีอยู่ดีทางสังคม พร้อมกรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ
    2. การค้นคว้าด้วยตนเอง
    3.การอภิปรายในชั้นเรียน/รายงานส่วนบุคคล
    12-13 นวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสังคม (Social Policy)
    สวัสดิการทางสังคม (Social Welfare)กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    1. การบรรยายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom เกี่ยวกับนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสังคม(Social Policy) สวัสดิการทางสังคม (Social Welfare) พร้อมกรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ
    2. การค้นคว้าด้วยตนเอง
    3.การอภิปรายในชั้นเรียน/แบบฝึกหัด
    14-15 รายงานภาคการศึกษาประเด็นการประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะ
    สรุปบทเรียน และ ข้อเสนอแนะ
    6
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    1. การค้นคว้าด้วยตนเอง
    2. นักศึกษานำเสนอรายงานภาคการศึกษาประเด็นการประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    3. อภิปรายในชั้นเรียน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบกลางภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    20
    สอบปลายภาค
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    20
    รายงานส่วนบุคคล
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    10
    การนำเสนอความก้าวหน้าของรายงานกลุ่ม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    10
    การนำเสนอรายงานกลุ่ม
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    30 เกณฑ์การพิจารณา
    1. ไม่มีคำผิด 2. มีการนำเสนอชัดเจน ตามลำดับและวิเคราะห์ 3. มีการอ้างอิงถูกต้อง สามารถบอกแหล่งที่มาของข้อมูลได้ถูกต้อง 4. ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการนำเสนอ 5. ความตรงเวลาในการส่งงานและการนำเสนองาน 6. การตอบคำถาม
    การเข้าเรียน การมีส่วนร่วม อภิปรายแลกเปลี่ยน
    • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายสาระสำคัญเกี่ยวกับความหมาย และพัฒนาการของแนวคิดการประกอบการทางสังคม ความสำคัญ ของการประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • K2: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถระบุกระบวนทัศน์ในกระบวนการ และขั้นตอนของการบริหารการประกอบการทางสังคมได้
    • K3: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ การประกอบการทางสังคมกับนโยบายสาธารณะโดยใช้กรณีศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งนี้เพื่อให้นักษาศึกษาสรุปลทเรียนที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์การประกอบการทางสังคมต่อการบริหารสาธารณะ และนวัตกรรมทางสังคมกับนโยบายสาธารณะได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้กรณีศึกษาที่เหมาะสมสำหรับการบริหารการประกอบการทางสังคมต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะได้
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    10
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Adams, D., & Hess, M. (2010). Social innovation and why it has policy significance. The Economic and
    Labour Relations Review, 21(2), 139-155.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Katsikis, I.N. and Kyrgidou, L.P. (2016), "Social Policy and Social Entrepreneurship: Between the Public and the Private", Innovation and Entrepreneurship in Education (Advances in Digital Education and Lifelong Learning, Vol. 2), Emerald Group Publishing Limited, Bingley, pp. 91-106. https://doi.org/10.1108/S2051-229520160000002005 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Anheier, H. K. (2014). Nonprofit organizations: theory, management, policy (Second edition. ed.). Routledge. Routledge. http://ebookcentral.proquest.com/lib/AUT/detail.action?docID=1675977 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    Nonprofit_organizations_Theory_management.pdf
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Schin, G.C., Cristache, N. & Matis, C. Fostering social entrepreneurship through public administration support. Int Entrep Manag J 19, 481–500 (2023). https://doi.org/10.1007/s11365-023- 00831-y อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Bornstein, B (2007). How to Change the World: Social Entrepreneurs and the Power of New Ideas. USA: Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Chahine, T. (2016). Introduction to Social Entrepreneurship. United Kingdom: Taylor & Francis. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Drucker, P. F. (1993). Management: Tasks, responsibilities, practices. New York, NY: Harper & Row. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Drucker, P. F. (2011). Managing the non-profit organization: practices and principles. Routledge.http://ebookcentral.proquest.com/lib/AUT/detail.action?docID=1046947 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Lohmann, Roger A. (2007).Charity, Philanthropy, Public Service, or Enterprise: What are the big questions of Nonprofit Management today? Public Administration Review. 67 (3), 437-444. https://doi.org/10.1111/j.1540-6210.2007.00727.x
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Maher, C. (2017). Influence of Public Policy on Small Social Enterprises: Emerging Research and
    Opportunities. United States: IGI Global.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Mintzberg, H. (2015). Time for the Plural Sector. Stanford Social Innovation Review, 13(3), 28–33. https://doi.org/10.48558/0WX6-ZG74
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    2015_timeforthepluralsector.pdf
    หนังสือ หรือ ตำรา Neff, D. J. (2011). The future of nonprofits : innovate and thrive in the digital age. Wiley. http://ebookcentral.proquest.com/lib/AUT/detail.action?docID=675214 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Portales, L. (2019). Social Innovation and Social Entrepreneurship: Fundamentals, Concepts, and
    Tools. Germany: Springer International Publishing.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Social Entrepreneurship: New Models of Sustainable Social Change. (2006). United Kingdom: OUP Oxford. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Tschirhart, M. (2012). Managing nonprofit organizations (First edition. ed.). Jossey-Bass. http://ebookcentral.proquest.com/lib/AUT/detail.action?docID=836561 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
    1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

    3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
    3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
    4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
    4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
    5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
    5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
    5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ