Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS421001
ภาษาไทย
Thai name
สังคมวิทยาขั้นแนะนำ
ภาษาอังกฤษ
English name
INTRODUCTION TO SOCIOLOGY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
จริยธรรม
Ethics
  • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ทักษะ
Skills
  • มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
ลักษณะบุคคล
Character
  • มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ความหมาย พัฒนาการของศาสตร์สังคมวิทยา วิธีการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม มนุษย์และ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สังคมมนุษย์และการจัดระเบียบทางสังคม กลุ่มทางสังคม สถาบันทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคมและปัญหาทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม ความไม่เสมอภาคทางสังคม พฤติกรรมร่วมและขบวนการทางสังคม
ภาษาอังกฤษ
English
Definition and development of sociology as a science, methods of social investigation, man and environment, culture, human society and social organization, social group, social institution, deviance and social problems, social and cultural change, social inequality, collective behavior and social movement
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Problem-based learning
  • Project-based learning
  • Case discussion
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 - แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน
- ความหมายของสังคมวิทยา และความเป็นมาของสังคมวิทยา
-วิธีการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม
3
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-บรรยาย เรื่องความหมายของสังคมวิทยา และความเป็นมาของสังคมวิทยาวิธีการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-ทำแบบทดสอบท้ายบท
2 มนุษย์และสิ่งแวดล้อม 3
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-บรรยาย เรื่องมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
-แจกเอกสารประกอบการสอนใน Google Classroom
-โปรแกรมวีดีทัศน์
-ทำแบบทดสอบท้ายบท
3 วัฒนธรรม 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย เรื่องมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-โปรแกรมวีดีทัศน์
- การอภิปรายชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
4 สังคมมนุษย์ 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย เรื่องมนุษย์กับสังคม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-ชมภาพยนตร์ร่วมกัน
- การอภิปรายชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
5 กลุ่มทางสังคมและสถาบันทางสังคม 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย กลุ่มทางสังคมและสถาบันทางสังคม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-อ่านเรื่องสั้น พิธีสุดท้าย และสรุปประเด็นจากเนื้อหาที่อ่าน
- การอภิปรายชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
6 ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม
3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-อ่านเรื่องสั้น เมียซามูไร และสรุปประเด็นจากเนื้อหาที่อ่าน
- การอภิปรายชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
7 การเสียระเบียบของสังคมและปัญหาสังคม 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย การเสียระเบียบของสังคมและปัญหาสังคม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
8 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
-อ่านเอกสารประกอบการสอน
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
9 ความไม่เสมอภาคทางสังคม 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย ความไม่เสมอภาคทางสังคม
-บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
10 การจัดช่วงชั้นทางสังคม 3
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย การจัดช่วงชั้นทางสังคม
-บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
11 ความไม่เสมอภาคทางสังคมและการเคลื่อนที่ทางสังคม 3
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย ความไม่เสมอภาคทางสังคมและการเคลื่อนที่ทางสังคม
-บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
ความไม่เสมอภาคทางสังคมและการเคลื่อนที่ทางสังคม
12 ความไม่เสมอภาคทางเพศ 3
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยาย ความไม่เสมอภาคทางเพศ
-วิเคราะห์บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
13-14 พฤติกรรมร่วม 4.5
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-บรรยายพฤติกรรมร่วม
-วิเคราะห์บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ศึกษารูปแบบพฤติกรรมร่วมชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
14-15 ขบวนการทางสังคม 4.5
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
-ขบวนการทางสังคม
-วิเคราะห์บทวิจัย หรือบทความวิชาการ
-ชมคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน
- แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ศึกษาขบวนการทางสังคม ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปรายในห้องเรียน
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
10
กิจกรรมในชั้นเรียน
งานเดี่ยว
งานกลุ่ม
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
  • C2: ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
  • C3: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
30
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
  • K1: มีความรู้ความเข้าใจขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา และวิธีแสวงหาความรู้ในศาสตร์สังคมวิทยา
  • K2: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ ระบบความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม และการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์
  • S1: มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
60
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
เอกสารประกอบการสอน รักชนก ชำนาญมาก. (2565). สังคมวิทยาขั้นแนะนำ. ขอนแก่น: สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. อาจารย์ภายในคณะ
หนังสือ หรือ ตำรา จันทนีย์ เจริญศรี. (2559). สังคมวิทยา : ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพฯ : openworlds. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวานิช .(2562). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หนังสือ หรือ ตำรา ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2555). ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา วสันต์ ปัญญาแก้ว. (2564). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. เชียงใหม่ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุเทพ สุวีรางกูร. (2556). สังคมวิทยาเบื้องต้น = Introducation to Sociology (พิมพ์ครั้งที่ 1.). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ