Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS421003
ภาษาไทย
Thai name
ประเด็นปัจจุบันทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ภาษาอังกฤษ
English name
Current Issues in Sociology and Anthropology
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ประเด็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้า การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติ และชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Contemporary economic, social, and political issues; inequalities; international mobility; transnational labor, gender and sexuality, culture; race and ethnicity, environment, and media
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-3 - ชี้แจงข้อตกลงต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนการสอนและการประเมินผล
    บทที่ 1 ความยากจนและการขยายตัวของระบบทุนนิยมโลก
    - ความหมายของความยากจน
    - การศึกษาความยากจนในสังคมโลก
    - ความหมายและลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ (neoliberalism)
    - ผลกระทบของระบบทุนนิยมโลกที่มีต่อแรงงานในระดับโลก
    - แรงงานทาสในโลกสมัยใหม่ (modern day slavery)

    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    - บรรยายเรื่องความยากจนและการขยายตัวของระบบทุนนิยมโลก
    - เอกสารประกอบการสอนที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานวิเคราะห์สถานการณ์ ความยากจนและความเหลื่อมล้ำของประเทศไทย ปี 2563. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (หน้า 1-24) (https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11972&filename=social)
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 2 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom (ตฤณ ไอยะรา. (2556). "รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน์: ประวัติศาสตร์อย่างย่อของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก" วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 19(2), 3-56.)
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 3 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom เดวิด ฮาร์วี่. (2550). ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่. แปลจาก A Brief History of Neoliberalism (2007), แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์, สุรัตน์ โหราชัยกุล และอภิรักษ์ วรรณสาธพ. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

    - อภิปรายในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    4-5 บทที่ 2 ตลาดกับมิติทางสังคม
    - ผลกระทบของเสรีนิยมใหม่ต่อชีวิตทางสังคมของมนุษย์
    - ความหมายของแนวคิดตลาดเหนือทุกสิ่ง (market triumphalism) และการทำให้ทุกอย่างเป็นสินค้า (commodification)
    - หน้าที่ของเงิน (money) ตามแนวคิดของเกยอร์ก ซิมเมล (Georg Simmel)
    - บทบาทของตลาดที่ครอบงำชีวิตมนุษย์ในสังคม

    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    - บรรยายเรื่อง ตลาดกับมิติทางสังคม
    - ดูคลิปวิดีโอและสรุปประเด็นเกี่ยวกับการครอบงำทางเศรษฐกิจโดยชนชั้นนำและผลกระทบของเสรีนิยมใหม่ต่อสังคมโดยรวมหลังจากดูสารคดีในชั้นเรียน
    - "You're Just Disposable": Former Amazon Workers Speak Out | "Amazon Empire" | FRONTLINE
    https://www.youtube.com/watch?v=3-KMXng5Cp0
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 5 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom (ไมเคิล แซนเดล. 2556. เงินไม่ใช่พระเจ้า. แปลจาก What Money Can’t Buy: The Moral Limits of Markets (2012), แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์. หน้า 12-53.

    - อภิปรายในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    6-7 บทที่ 3 การเหยียดเชื้อชาติ (racism) อัตนิยมทางชาติพันธุ์ (Ethnocentrism) และการเหมารวมทางเชื้อชาติ (racial stereotype)
    - ความหมายของ เชื้อชาติ (race) และ ชาติพันธุ์ (ethnicity)
    - ความหมายและลักษณะของการเหมารวมทางเชื้อชาติ (racial stereotype) และผลกระทบทางสังคม
    - การเหยียดเชื้อชาติที่ซ่อนเร้น (color-blinded racism) และการเหยียดเชื้อชาติที่ฝังอยู่ในสำนึกของกลุ่มคนที่ถูกเหยียดเอง (Internalized racism)
    -การเหยียดเชื้อชาติและอคติทางชาติพันธุ์ในสื่อและโลกอินเตอร์เน็ต
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    บรรยาย เรื่อง การเหยียดเชื้อชาติ และการเหมารวมทางเชื้อชาติ

    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 6 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom: 1) ปรีชภักดิ์ ทีคาสุข. 2557. นางงาม ความขาว และอคติเชิงชาติพันธุ์.
    2) ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2541). วาทกรรมว่าด้วย “ชาวเขา.” วารสารสังคมศาสตร์ 11(1), 92-135.
    3) McCargo, D. and Hongladarom. K. (2004). “Contesting Isan-ness: Discourses of Politics and Identity in Northeast Thailand.” Asian Ethnicity, 5((2), 219-234. http://www.polis.leeds.ac.uk/assets/files/thaipol/mccargo-and-krisadawan-2004.pdf

    โปรแกรมวีดีทัศน์ ดูคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเหยียดสีผิวในสังคมอเมริกัน และสรุปประเด็นเกี่ยวกับการเหยียดผิวในสังคมอเมริกันหลังจากดูสารคดีในชั้นเรียน

    - อภิปรายในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    8-10 บทที่ 4 เพศภาวะและเพศวิถี
    -แนวคิดสตรีนิยม (feminism) และความไม่เท่าเทียมทางเพศ
    - ความหมายของแนวคิดสตรีนิยม
    - พัฒนาของแนวคิดสตรีนิยมและข้อเสนอและข้อถกเถียงทางทฤษฎีของนักคิดสตรีนิยมเกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิง-ชายในแต่ละยุคสมัย โดยเริ่มจากยุคที่ผู้หญิงเริ่มมีสิทธิในการเลือกตั้งในประเทศยุโรป (ต้นศตวรรษที่ 20) จนถึงปัจจุบัน
    -การเหยียดเพศในสื่อและโลกอินเตอร์เน็ต
    -ผู้มีความหลากหลายทางเพศ และเพศสภาพแบบอทวิลักษณ์ (non-binary gender)
    -ความหมายและอิทธิพลของเพศกำกวม (Intersex) ที่ส่งผลต่อการศึกษาเรื่องเพศสภาพในทางสังคมวิทยา
    -ความหมายของเพศสภาพแบบอทวิลักษณ์ (non-binary gender)
    -สถานการณ์ของผู้มีความหลากหลายทางเพศในปัจจุบัน ในมิติด้านการยอมรับ การคุกคาม และความรุนแรงต่อผู้มีความหลากหลายทางเพศ
    - การผลิตซ้ำภาพเหมารวม (stereotype) ของผู้มีความหลากหลายทางเพศในสื่อและโลกอินเตอร์เน็ต
    -ความเป็นชายที่มีอำนาจเหนือความเป็นชายแบบอื่น (hegemonic masculinity)
    - ความหมายของความเป็นชายที่มีอำนาจเหนือความเป็นชายแบบอื่น
    -คุณลักษณะของความเป็นชายแบบต่างๆ
    -การนำเสนอความเป็นชายที่มีอำนาจเหนือความเป็นชายแบบอื่นผ่านสื่อและโลกอินเตอร์เน็ต

    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    บรรยายเรื่องความเหลื่อมล้ำทางเพศ เพศวิถี และความหลากหลายทางเพศ
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 8 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom: ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ. 2560. แนวคิดสตรีนิยมและขบวนการทางสังคมของผู้หญิงในประเทศไทย: วิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ข้อถกเถียงและยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริช เอแบร์ท. (ออนไลน์)
    (http://library.fes.de/pdf-files/bueros/thailand/13364-20170526.pdf).
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 9 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom: 1) นัชชา ตันติวิทยาพิทักษ์. 2018. ‘นอน-ไบนารี่’ สำนึกทางเพศที่ไม่ใช่ชาย-หญิง หรือความเรื่องมากของคนที่ไม่เข้าพวก? ประชาไท. https://prachatai.com/journal/2018/01/74982
    2) โตมร ศุภปรีชา. 2016. โลกนี้มีสองเพศ. The Momentum. https://themomentum.co/momentum-opinion-genderless-binary-sexual/
    3) "ทำความรู้จักภาวะเพศกำกวม." เว็บไซต์หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. 22 กรกฎาคม 2561. https://www.dailynews.co.th/article/656207
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 10 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom: 1) นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. 2556. รื้อสร้างมายาคติ “ความเป็นชาย” ในสังคมไทย. รัฐศาสตร์สาร ปีที่ : 34 ฉบับที่ : 1 หน้า :41-75. (ออนไลน์) http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/articles/3.
    2) จักรกริช สังขมณี. 2554. “ความเป็นชาย(ส์)หลากมิติ: การสร้างความรู้ การถือครองอำนาจ และการกลายเป็นอื่น,” หน้า 273-288 ใน ความรัก วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1-2/2554. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    - อภิปรายในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

    11 บทที่ 5 ทฤษฎีอำนาจทับซ้อน

    ทฤษฎีอำนาจทับซ้อน (intersectionality)
    -ความหมายและที่มาของทฤษฎีอำนาจทับซ้อน
    -ตัวอย่างของการกดขี่ และอภิสิทธิ์ที่เกิดจากอำนาจทับซ้อนในมิติต่างๆ เช่น ชนชั้นทางเศรษฐกิจ เชื้อชาติ สีผิว และเพศสภาพ ฯลฯ
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    บรรยายเรื่องทฤษฎีอำนาจทับซ้อน
    - ให้นักศึกษาชมคลิปการบรรยายเรื่อง “The urgency of intersectionality” โดย Kimberlé Crenshaw จาก https://www.youtube.com/watch?v=akOe5-UsQ2o
    - อภิปรายในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    12-13 บทที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และแรงงานข้ามชาติ
    - คนไทยนอกแผ่นดินไทย การเป็นผู้ย้ายถิ่นฐานถาวร (Immigrant) และการแต่งงานระหว่างประเทศ
    - ความหมายของคนไทยนอกแผ่นดินไทย
    - รูปแบบและแนวโน้มของการย้ายถิ่นฐานระหว่างประเทศของคนไทย
    - การแต่งงานระหว่างประเทศ
    - แรงงานผู้หญิงจากประเทศกำลังพัฒนาในระบบทุนนิยมโลก
    - งานให้การดูแล (care work) ของแรงงานหญิงจากประเทศกำลังพัฒนา
    - งานให้การดูแลของแรงงานไทยในบริบทโลก
    - ความไม่เท่าเทียมทางเพศ เชื้อชาติ และเศรษฐกิจการเมืองในระดับโลก
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    - บรรยายเรื่อง การย้ายถิ่นระหว่างประเทศ
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 12 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom: 1) วิจิตร ประพงษ์. (2561). "การย้ายถิ่นแบบชั่วคราวแต่ยาวนานของแรงงานไทยแบบผิดกฎหมายในฝรั่งเศส." วารสารพัฒนศาสตร์ 1(2), 206-240.
    2) บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล. (2561). "เส้นทางอพยพของคนไทยกับการจัดการการย้ายถิ่นภายใต้แนวคิด "สัญชาติทางวัฒนธรรม" ในเนเธอร์แลนด์." วารสารพัฒนศาสตร์ 1(2), 8-56.
    - เอกสารประกอบการสอนสัปดาห์ที่ 13 ที่อัพโหลดขึ้นบน Google Classroom: 1) พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2561). การแต่งงานและการย้ายถิ่นข้ามชาติ: กรอบการศึกษาและสถานะองค์ความรู้. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา 37(1),10-42.
    2) ดุษฎี อายุวัฒน์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2561). ความคาดหวังต่อการใช้ชีวิตกับสามีชาวต่างชาติในถิ่นปลายทางของสตรีอีสาน. วารสารราชพฤกษ์ 16(2), 79-86.
    - อภิปรายในชั้นเรียน
    14 บทที่ 7 ปัญหาสิ่งแวดล้อม
    - ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก
    อันเกิดจากการพัฒนาทางเทคโนโลยี และสังคม
    ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การดำรงชีพ
    ของสัตว์ ระบบนิเวศน์ และชุมชนพื้นเมืองทั่วโลก
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    ดูคลิป หรือยูทูบเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมแล้วอภิปรายร่วมกัน
    15 - ทบทวนก่อนสอบปลายภาค
    - สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลการสอน
    - อภิปรายในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา

    อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    40
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษามีความเห็นอกเห็นใจต่อบุคคลที่ประสบความเหลื่อมล้ำทางสังคมผ่านการศึกษาปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบัน
    10 แยกเป็น การเข้าชั้นเรียน 5 คะแนน และการมีส่วนร่วมตอบคำถาม และอภิปรายในชั้นเรียน 5 คะแนน
    แบบทดสอบย่อยระหว่างเรียน
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองร่วมสมัย ความเหลื่อมล้ำ การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ แรงงานข้ามชาติ เพศภาวะและเพศวิถี วัฒนธรรม เชื้อชาติและชาติพันธุ์ สิ่งแวดล้อม และสื่อ
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    50 แบบทดสอบย่อยระหว่างเรียนหลังจากจบบท จำนวน 5 ครั้ง ครั้งละ 10 คะแนน
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา เดวิด ฮาร์วี่. (2550). ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่. แปลจาก A Brief History of Neoliberalism (2007), แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์, สุรัตน์ โหราชัยกุล และอภิรักษ์ วรรณสาธพ. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ จักรกริช สังขมณี. (2554). “ความเป็นชาย(ส์)หลากมิติ: การสร้างความรู้ การถือครองอำนาจ และการกลายเป็นอื่น,” หน้า 273-288 ใน ความรัก วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1-2/2554. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ดุษฎี อายุวัฒน์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2561). “ความคาดหวังต่อการใช้ชีวิตกับสามีชาวต่างชาติในถิ่นปลายทางของสตรีอีสาน.” วารสารราชพฤกษ์, 16(2), 79-86. อาจารย์ภายในคณะ
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ตฤณ ไอยะรา. (2556). "รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน์: ประวัติศาสตร์อย่างย่อของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก" วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 19(2), 3-56. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2556). “รื้อสร้างมายาคติ “ความเป็นชาย” ในสังคมไทย.” รัฐศาสตร์สาร ปีที่ : 34 ฉบับที่ : 1 หน้า :41-75. (ออนไลน์) http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/articles/3 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ บุษบา สุริยสาร. (2557). อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย. องค์การแรงงานระหว่างประเทศประจำประเทศไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว; โครงการส่งเสริมสิทธิ ความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE). กรุงเทพฯ : องค์การแรงงานระหว่างประเทศ. (ออนไลน์, https://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---asia/---ro-bangkok/---sro-bangkok/documents/publication/wcms_356948.pdf). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ปณิธี บราวน์ (บรรณาธิการ). (2561). ความสัมพันธ์ใกล้ชิดในบริบทข้ามพรมแดน, วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2561, https://tci-thaijo.org/index.php/JSA/issue/view/10877.). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2541). “วาทกรรมว่าด้วย “ชาวเขา.” วารสารสังคมศาสตร์, 11(1), 92-135. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ พัชรินทร์ ลาภานันท์. (2561). “การแต่งงานและการย้ายถิ่นข้ามชาติ: กรอบการศึกษาและสถานะองค์ความรู้.” วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา 37(1):10-42. อาจารย์ภายในคณะ
    หนังสือ หรือ ตำรา แมนเฟร็ด สเตเกอร์ และ รวี รอย. (2559). เสรีนิยมใหม่: ความรู้ฉบับพกพา. แปลจาก Neoliberalism: A Very Short Introduction แปลโดย วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ไมเคิล แซนเดล. (2556). เงินไม่ใช่พระเจ้า. แปลจาก What Money Can’t Buy: The Moral Limits of Markets (2012), แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สร้อยมาศ รุ่งมณี (บรรณาธิการ). (2561). “ไทยนอกแผ่นดิน: Thai Outside Thailand,” วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 27 พฤจิกายน 2561, https://www.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/149068/109565). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานวิเคราะห์สถานการณ์ ความยากจนและความเหลื่อมล้ำของประเทศไทย ปี 2563. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ออนไลน์, เข้าถึงเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2564, https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11972&filename=social). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ McCargo, D. and Hongladarom. K. (2004). “Contesting Isan-ness: Discourses of Politics and Identity in Northeast Thailand.” Asian Ethnicity, 5((2), 219-234. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ