รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา - ความหมายของ “ชาติพันธุ์วิทยา” - ความสำคัญของการศึกษาชาติพันธุ์วิทยา |
3 |
|
(1) แจกแผนการสอน (upload ในระบบล่วงหน้า)/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการเรียนการสอนรวมทั้งการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning (2) พบนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (3) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
2 |
พัฒนาการของการศึกษาชาติพันธุ์ - ในบริบทนานาชาติ - ในบริบทไทย |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
3-4 |
แนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาชาติพันธุ์ - แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการศึกษาชาติพันธุ์ |
6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
5-6 |
แนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาชาติพันธุ์ -แนวคิด/ทฤษฎีเฉพาะ |
6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
7 | วิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
8-9 |
กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ - ชาติพันธุ์กับการพัฒนา - ชาติพันธุ์กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
10-11 |
กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ - ชาติพันธุ์กับความเชื่อ - ชาติพันธุ์กับความขัดแย้ง |
6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
12-13 |
กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ - ชาติพันธุ์กับเพศสภาวะ - ชาติพันธุ์กับอัตลักษณ์/การธำรงชาติพันธุ์ |
6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
14 |
กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ - ชาติพันธุ์กับโลกาภิวัตน์/การย้ายถิ่น/การข้ามแดน/การข้ามชาติ |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
15 |
- การนำเสนอผลงานของนักศึกษา (งานกลุ่ม) - สรุป |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบกลางภาค |
|
30 | นัดหมายนอกตาราง |
การสอบปลายภาค |
|
30 | ตามตาราง มข. 30 |
รายงานกลุ่มและการนำเสนอรายงาน |
|
25 | สัปดาห์ที่ 8 |
อ่านหรือดูข่าวที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์และแสดงความเห็นบนกระดานข่าวใน e-learning |
|
10 | สัปดาห์ที่ 15 |
การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
5 | ตลอดภาคการศึกษา |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ. (2547). “ทบทวนแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์ข้ามยุคสมัยกับการศึกษาสังคมไทย”. ว่าด้วยแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุเทพ สุนทรเภสัช. (2548). ชาติพันธุ์สัมพันธ์ : แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยาในการศึกษาอัตลักษณ์ กลุ่มชาติพันธุ์ ประชาชาติและการจัดองค์กรสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โบราณคดี. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Radin, Paul. (1929). History of Ethnological Theories. American Anthropologist, 31:9-33. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Voget, Fred W. (1975). A History of Ethnology. New York: Holt, Rinehart & Winston. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฉลาดชาย รมิตานนท์ และคณะ (แปล). (2528). แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จตุพร ดอนโสม. (2555). การสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายเวียดนามบ้านนาจอก. ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ. (2555). ปริศนาวงศาคณาญาติ “ลัวะ”. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยศ สันตสมบัติ. (2540). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยศ สันตสมบัติ. (2543). หลักช้าง: การสร้างใหม่ของอัตลักษณ์ไทในใต้คง. กรุงเทพฯ : โครงการวิถีทรรศ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคนอื่น ๆ (แปล). (2548). สังคมจีนในประเทศไทย ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์ (Chinese Society in Thailand: An Analytical History). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พิเชษฐ์ สายพันธ์. (2547). “การแปลงผ่านอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม”. ความเป็นไทย ความเป็นไท. หน้า 95 - 136. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
รตพร ปัทมเจริญ. (2544). บทบาทของศาลเจ้าจีนในการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ : ศึกษากรณีในเขตอำเภอเมืองจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
รัตนาพร เศรษฐกุล และเบ็ญจา อ่อนท้วม. (2536). จ้วง – ไท – ไทย สายใยแห่งวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : โครงการศึกษาชนชาติไทยฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัยพายัพ. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศักรินทร์ ณ น่าน. (2555). มลาบรีบนเส้นทางการพัฒนา. เชียงใหม่ : ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุริยา สมุทคุปติ์ และพัฒนา กิติอาษา. (2544). "ยวนสีคิ้ว" ในชุมทางชาติพันธุ์ : เรื่องเล่า ความทรงจำ และอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวนในจังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สาขาวิชาศึกษาทั่วไป สำนักวิชา เทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2552). รัฐฉาน (เมืองไต) : พลวัตของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | วารสาร “สังคมลุ่มน้ำโขง” จัดพิมพ์โดยศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, http://www.sac.or.th/databases/ethnicredb) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, http://www.sac.or.th/databases/ethnic) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Ethnic Groups in the Mekong Region, http://www.infomekong.com/peoples | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | History of ethnological theories, American Anthropological Association, http://www.aaanet.org/committees/commissions/centennial/history/041radin.pdf | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Vietnam Ethnic Minority Peoples, http://www.vietnamspirittravel.com/guide/ethnic_minority_peoples.htm | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Ethnology - an overview, https://www.sciencedirect.com/topics/social-sciences/ethnology. | ||
โปรแกรมวีดีทัศน์ | Ethnography & Ethnology, https://courses.lumenlearning.com/culturalanthropology/chapter/ethnography/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Ethnology, https://www.encyclopedia.com/social-sciences-and-law/anthropology-and-archaeology/anthropology-terms-and-concepts/ethnology | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Ethnology and Ethnography in Anthropology, https://hraf.yale.edu/teach-ehraf/ethnology-and-ethnography-in-anthropology/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | SAGE Reference - Ethnography and Ethnology, https://sk.sagepub.com/reference/21stcenturyanthro/n15.xml | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | List of books and articles about Ethnology, https://www.questia.com/library/sociology-and-anthropology/types-of-anthropology/ethnology | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | International Journal of Anthropology and Ethnology, https://ijae.springeropen.com/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | A review of Chinese ethnology in the past hundred years and its summary in the new era, https://ijae.springeropen.com/articles/10.1186/s41257-017-0002-y | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | National Museum of Ethnology | OSAKA-INFO, https://osaka-info.jp/en/page/national-museum-ethnology |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ