Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423108
ภาษาไทย
Thai name
สังคมวิทยาเศรษฐกิจ
ภาษาอังกฤษ
English name
ECONOMIC SOCIOLOGY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    พรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ แนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจคลาสสิคเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก และผลสืบเนื่องทางสังคมของระบบทุนนิยม แนวคิดสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจร่วมสมัยเกี่ยวกับการทำให้ทันสมัยและการพัฒนา โลภาภิวัตน์และ วัฒนธรรมและการบริโภค และทุนทางสังคม
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Boundary of economic sociology and economics; classical economic sociology concepts on the origins and development of capitalism, capitalism and western civilization, and social consequences of capitalism; contemporary economic sociology concepts on modernization and development, globalization, culture and consumption, and social capital
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา กิจกรรมการเรียน การสอนการประเมินผล การนำเข้าสู่การเรียน 3
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    - แจกเอกสารประมวลรายวิชา เอกสารแผนการสอน Power Point กรณีศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อวิดิทัศน์ในระบบ E-learning ของรายวิชา
    - บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom
    - ทำกิจกรรมเข้าสู่การเรียนผ่านแอพพลิเคชั่น Quizlet ผ่าน Smart Phone ของนักศึกษา
    - แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความคาดหมายของผู้เรียนจากการเรียนวิชานี้ผ่านกระดานสนทนาในระบบ E-learning ของรายวิชา
    2 พรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ 3
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    แจก Power Point กรณีศึกษางานวิจัยทางสังคมวิทยาเศรษฐกิจ และทางเศรษฐศาสตร์ และ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในระบบ E-learning ของรายวิชา
    - บรรยายออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom ประกอบการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    3-4 แนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจคลาสสิคเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม 6
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    แจกเอกสารประกอบการสอน “พัฒนาการของระบบทุนนิยม Power Point พร้อมทั้งอัพโหลดสื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษาและ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในระบบ E-learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีผ่านโปรแกรม Zoom
    - แบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมกลุ่ม ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
    5-6 ทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก 6
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน “ทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก”
    Power Point พร้อมทั้งอัพโหลดสื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษาและ Hand out สำหรับทำกิจกรรมในระบบ E-learning ของรายวิชา
    - บรรยายประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดีผ่านโปรแกรม Zoom
    - แบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมกลุ่ม ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
    7-8 ผลสืบเนื่องทางสังคมของระบบทุนนิยม 6
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน –ตัวอย่างบทความวิจัยและบทความทางวิชาการ “ผลกระทบจากระบบทุนนิยม”พร้อมทั้งอัพโหลด Hand out สำหรับทำกิจกรรมในระบบ E-learning ของรายวิชา
    - บรรยายผ่านโปรแกรม Zoom
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย-อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
    - แบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมกลุ่ม “รายงานผลการศึกษาประเด็นความรู้เกี่ยวกับสังคมวิทยาเศรษฐกิจ”
    9-10 แนวคิดสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจร่วมสมัยเกี่ยวกับการทำให้ทันสมัยและการพัฒนา เช่น แนวคิดเสรีนิยมใหม่แนวคิด Becoming และ ความเสี่ยง 6
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    - แบ่งกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมการค้นคว้าร่วมกันในแต่ละแนวคิด “การทำให้ทันสมัยและการพัฒนา
    เสรีนิยมใหม่ การกลายเป็น และความเสี่ยง”
    - นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้าแนวคิดสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจร่วมสมัยแต่ละแนวคิด
    - บรรยายสรุปผ่านโปรแกรม Zoom
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
    - นักศึกษาไปทบทวนและสังเคราะห์องค์ความรู้
    - นักศึกษาเขียนสรุปประเด็นสำคัญในกระดานถามตอบในระบบ E-learning ของรายวิชา
    11 โลภาภิวัตน์และการศึกษาระบบเศรษฐกิจ 3
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    - แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน “โลภาภิวัตน์และการศึกษาระบบเศรษฐกิจ” พร้อมทั้งอัพโหลด Hand out สำหรับทำกิจกรรมในระบบ E-learning ของรายวิชา
    บรรยายสรุปผ่านโปรแกรม Zoom
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - อาจารย์ร่วมอภิปรายและตั้งคำถามสำหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม
    - นักศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้จากกรณีศึกษา
    - นักศึกษาเขียนสรุปประเด็นสำคัญในกระดานถามตอบในระบบ E-learning ของรายวิชา
    12 วัฒนธรรมและการบริโภค 3
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    - แจกเอกสารประกอบการเรียนการสอน Power Point กรณีศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์หรืออีเลกทรอนิกส์ และสื่อวิดีโอสารคดีกรณีศึกษาในระบบ E-learning ของรายวิชา
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - มอบหมายให้นักศึกษาอ่านเอกสาร และอภิปรายสรุปการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในกระดานถามตอบของระบบ E-learning ของรายวิชา
    13 ทุนทางสังคมในมิติของสังคมวิทยาเศรษฐกิจ 3
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    - บรรยายผ่านโปรแกรม Zoomประกอบการใช้สื่อวิดีโอสารคดี
    - ชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    - มอบหมายให้นักศึกษาอ่านเอกสาร และอภิปรายสรุปการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในกระดานถามตอบของระบบ E-learning ของรายวิชา
    14-15 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา
    - สรุปผลการเรียนรู้และประเมินผลการสอน
    6
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    -นักศึกษานำเสนอผลการค้นคว้าประเด็นความรู้เกี่ยวกับสังคมวิทยาเศรษฐกิจ อภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
    -ประเมินจากการนำเสนอชี้ประเด็นและข้อสังเกตร่วมกันอภิปราย
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการค้นคว้าด้วยตนเอง
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    70 นักศึกษาส่งใบงาน และบันทึกการค้นคว้าด้วยตนเอง ร่วมกับการอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ผ่านระบบ google classroom ของรายวิชา
    การเขียนรายงานผลการศึกษาประเด็นความรู้เกี่ยวกับสังคมวิทยาเศรษฐกิจ
    • K1: นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจ และสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างพรมแดนของสังคมวิทยาเชิงเศรษฐกิจและเศรษฐศาสตร์ได้
    • S1: นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ของแนวคิดสังคมวิทยาเศรษฐกิจเกี่ยวกับต้นกำเนิด และพัฒนาการของระบบทุนนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างระบบทุนนิยมและอารยธรรมตะวันตก รวมถึงผลสืบเนื่องของระบบทุนนิยมที่มีต่อชุมชนและสังคมและความเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน์
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: มีความเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    • C2: เคารพในความคิดที่แตกต่างของคนที่ทำงานร่วมกัน
    • C3: มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับคนอื่นจนสำเร็จ
    30 นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษาในสัปดาห์ที่กำหนด
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Alejandro Portes. (1995). “Economic Sociology and the Sociology of Immigration: A Conceptual Overview.” Pp. 1-41. in The Economic Sociology of Immigration, edited by Alejandro Portes. New York: Russell Sage Foundation.
    หนังสือ หรือ ตำรา Bruno Amable. (2003). Diversity of Modern Capitalism. Oxford: Oxford University Press
    หนังสือ หรือ ตำรา Harvey, David. (2005). A Brief History of Neoliberalism. University of Chicago Center for International Studies Beyond the Headlines Series.
    หนังสือ หรือ ตำรา Neil J. Smelser and Richard Swedberg. (2005). “Introducing Economic Sociology.” Pp. 3-26 in The Handbook of Economic Sociology, second edition, edited by Neil J. Smelser and Richard Swedberg. New York and Princeton: Russell Sage Foundation and Princeton University Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Paul DiMaggio and Hugh Louch. (1998). “Socially Embedded Consumer Transactions: For What Kinds of Purchases Do People Most Often Use Networks?”. American Sociological Review 63: 619-637
    หนังสือ หรือ ตำรา Peter Evans. (1995). Embedded Autonomy. Princeton: Princeton University Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Pierre Bourdieu. (2005). The Social Structures of the Economy. Polity Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Richard Swedberg. (2003). Principles of Economic Sociology. Princeton: Princeton University Press
    หนังสือ หรือ ตำรา Thomas Piketty. (2013). Capital in the 21st Century. Harvard University Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Viviana Zelizer. (2005). “Culture and Consumption.” Pp. 331-354 in The Handbook of Economic Sociology, second edition, edited by Neil J. Smelser and Richard Swedberg. New York and Princeton: Russell Sage Foundation and Princeton University Press.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Alejandro Portes. (1998). “Social Capital: Its Origins and Applications in Modern Sociology.” Annual Review of Sociology 24: 1-24.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Arlie Russell Hochschild. (2003). The Commercialization of Intimate Life. Berkeley: University of California Press. Pp. 30-44, 185-197.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Daniel Miller. (1998). A Theory of Shopping. Ithaca: Cornell University Press. Pp. 1-49.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ James Coleman. (1988). “Social Capital in the Creation of Human Capital.” American Journal of Sociology 94(suppl.):S95–S120.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Jennifer Lee. (2002). “From Civil Relations to Racial Conflict: MerchantCustomer Interactions in Urban America.” American Sociological Review 67 (1): 77-98.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Joel Podolny and James N. Baron. (1997). “Resources and Relationships: Social Networks and Mobility in the Workplace.” American Sociological Review 62: 673-693.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Nan Lin, Walter Vaughn, and John Ensel. (1981). “Social Resources and Strength of Ties.” American Sociological Review 46(4) :393–405.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Omar Lizardo. (2006). “Cultural Tastes and Personal Networks.” .American Sociological Review 71: 778-807.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Pierre Bourdieu. (1984). Distinction. Cambridge, Mass.: Harvard University Press. Introduction, pp. 1-7.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ronald Burt. (1997). “The Contingent Value of Social Capital.” Administrative Science Quarterly 42: 339-65.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ronald S. Burt. (1998). “The Gender of Social Capital.” Rationality and Society 10(1): 5-46.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Roberto Fernandez, Emilio Castilla, and Paul Moore. (2000). “Social Capital at Work: Networks and Employment at a Phone Center.” American Journal of Sociology 105(5): 1288-1356.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Steven Durlauf. (2002). “On the Empirics of Social Capital.” The Economic Journal 112(483): F459-79.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Thornstein Veblen. (1994 [1899]). “Conspicuous Consumption.” Chapter 4 in The Theory of the Leisure Class. New York: Dover.
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชินสัคค สุวรรณอัจฉริย. (2549).สังคมวิทยาเศรษฐกิจ-การบูรณาการวิชาเศรษฐศาสตร์ วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 1 (ฉบับปฐมฤกษ์), 43-56.
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ https://en.wikipedia.org/wiki/Economic_sociology
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ http://econsoc.mpifg.de/
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ