Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423109
ภาษาไทย
Thai name
สถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
BASIC STATISTICS FOR SOCIAL SCIENCES RESEARCH
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-3-5)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Descriptive and Inferential Statistics, use of statistics for univariate, bivariate for social research, sample size, determinate type of sampling, test of hypothesis of mean difference, association and interpretation of data analysis
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Online learning
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Problem-based learning
      • Project-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1-2 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ
      1) นิยาม ความหมาย
      2) ความสำคัญของการศึกษาสถิติ
      3) บทบาทของสถิติในการศึกษาทางสังคมศาสตร์
      4) ความหมายของประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
      5) ลักษณะของสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
      6) ความหมายและลักษณะของค่าพารามิเตอร์ และค่าสถิติ
      10
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และแนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์ และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 1 รู้จักสถิติ ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลจากตัวอย่างงานวิจัย


      3 บทที่ 2 การวัดตัวแปร
      1) บทนำ
      2) แหล่งข้อมูล/ประเภทของข้อมูล
      3) ค่าสังเกตและข้อมูล
      4) ตัวคงที่และตัวแปร
      5) ประเภทของตัวแปร
      6) ระดับการวัดตัวแปร
      7) ค่าของตัวแปร
      สถิติที่ใช้กับตัวแปรในแต่ละระดับ
      2 3
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 2 รู้จักระดับการวัดตัวแปร ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับการวัดตัวแปรในงานวิจัยนั้นๆ

      4-5 บทที่ 3 การอธิบายข้อมูลตัวแปรเดียว
      1) บทนำ
      2) ประเภทของการแจกแจงความถี่
      3) แผนภูมิแท่งและฮิสโตแกรม
      4) รูปหลายเหลี่ยมความถี่
      5) โค้งความถี่
      6) แผนภูมิวงกลม
      7) กราฟเส้น
      8) สัดส่วน ร้อยละ อัตรา และอัตราส่วน
      9) ตัวอย่างการวิเคราะห์และการแปลความหมาย
      4 6
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 3 รู้จักการวิเคราะห์ตัแปรเดียวและการนำเสนอข้อมูล ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์และการแปลความหมายของตัวแปรเดียว และนำเสนอเป็นกราฟ ตามข้อมูลที่กำหนด
      6 บทที่ 4 การวัดค่าแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง
      1) บทนำ
      2) ประเภทการวัดแนวโน้มสู่ค่ากลาง
      3) การวัดการกระจายข้อมูล
      ตัวอย่างการวิเคราะห์และการแปลความหมาย
      5
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 4 รู้จักค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางและการแปลความหมายจากไฟล์ที่กำหนดให้
      7 บทที่ 5 การแจกแจงปกติ
      1) บทนำ
      2) การแจกแจงปกติ
      3) ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
      4) การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรต่อเนื่อง
      5) เหตุผลที่ใช้การแจกแจงปกติ
      6) การสร้างค่า Z จาก โปรแกรมสำเร็จรูป
      7) ตารางสำหรับการแจกแจงปกติ
      ตารางสำหรับตัวแปร Z
      3 2
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT และตัวอย่างงานวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลื่อนอาชีพของแรงงานย้ายถิ่น และลีลาชีวิตของคนชานเมืองในช่วงชั้นทางสังคม
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 5 รู้จักการแจกแจงปกติ ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการแจกแจงปกติ และการใช้ค่ามาตรฐานในงานวิจัย (ใช้งานวิจัย เรื่อง ลีลาชีวิตของคนชานเมืองในช่วงชั้นทางสังคม)

      8-9 บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
      1) บทนำ
      2) หน่วยในการวิเคราะห์
      3) ประชากรเป้าหมาย
      4) การหาขนาดตัวอย่างจากสูตรต่างๆ
      5) รูปแบบการสุ่มตัวอย่าง
      ตัวอย่างงานวิจัยที่ใช้การสุ่มตัวอย่างรูปแบบต่างๆ
      2 8
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT และยกตัวออย่างงานวิจัย
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 6 การหาประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการกำหนดขนาดตัวอย่าง และการสุ่มตัวอย่าง จากข้อมูลที่กำหนดให้ และงานวิจัยที่ใช้
      10-11 บทที่ 7 การทดสอบสมมติฐานการวิจัย
      1) บทนำ
      2) ความหมายและหลักการของการทดสอบสมมติฐานการวิจัย
      3) การตั้งสมมติฐานการวิจัย
      4) สมมติฐานทางสถิติ
      5) ความผิดพลาดในการตัดสินใจ
      6) ระดับนัยสำคัญทางสถิติ/ระดับความเชื่อมั่น
      7) การตัดสินใจเลือกสมมติฐาน
      8) ลำดับขั้นในการทดสอบสมมติฐาน
      สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย
      2 8
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 7 รู้จักสมมติฐานการวิจัย ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการทดสอบสมมติฐานการวิจัย และสถิติที่ใช้จากข้อมูลที่กำหนดให้


      12-13 บทที่ 8 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
      1) บทนำ
      2) ความหมายและหลักการในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
      3) การคำนวณค่าร้อยละในตารางและการสร้างตาราง
      4) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
      5) การอ่านผลการวิเคราะห์
      2 8
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 8 รู้จักการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร จากข้อมูลที่กำหนดให้

      14 บทที่ 9 การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน
      1) บทนำ
      2) ข้อกำหนดเบื้องต้นในการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน
      3) การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
      5
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหาในบทที่ผ่านมา
      (2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วย PPT
      (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบ่งกลุ่มทำงาน
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับปัญหาของเนื้อหาในรายวิชา

      Lab/การบ้าน 9 รู้จักการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ให้นักศึกษาหาตัวอย่างงานวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับสถิติที่ใช้ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย จากข้อมูลที่กำหนดให้

      15 นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีออนไลน์ 5
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งมีจริยธรรมในการทำวิจัยและการวิเคราะห์สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
      (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Classroom (Google Meeting/Zoom) เพื่อทบทวนเนื้อหา และชี้แจงลำดับการนำเสนอ
      (2) นักศึกษานำเสนอผลการวเคราะห์งานกลุ่ม ด้วย PPT
      (3) อาจารย์ ให้ข้อเสนอแนะตอบข้อซักถามเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์

      รวมจำนวนชั่วโมง 30 45
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      แบบฝึกหัดท้ายบทและการบ้าน
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      30 สัปดาห์ที่ 1-15
      รายงานการวิเคราะห์สถิติ
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      20 สัปดาห์ที่ 15
      การสอบปลายภาค
      • K1: เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติพื้นฐานสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การใช้สถิติสำหรับหนึ่งตัวแปร สองตัวแปร ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล
      • S1: เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์สถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว และสองตัวแปร การหาขนาดตัวอย่าง ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมติฐาน ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความสัมพันธ์ และการแปลผลในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการทำการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างชัดเจน
      50 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์. (2542). เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: B&B Publishing.
      หนังสือ หรือ ตำรา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (2535) . ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น .
      หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2532). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเชี่ยง.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2543). สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า.
      หนังสือ หรือ ตำรา อารี จำปากลาย. (2560). สถิติในการวิจัยทางสังคมศาสตร์. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
      หนังสือ หรือ ตำรา Babbie, E. (1989). The Practice of Social Research. California, Wadsworth Publishing Company.
      หนังสือ หรือ ตำรา Hanneman, R.A., Kposowa, A.J., & Riddle, M.D. (2012). Basic Statistics for Social Research. California: Jossey-Bass.
      หนังสือ หรือ ตำรา Miller, D.C., & Salkind, N.J (2002). Handbook of Research Design and Social Measurement, California: Sage
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
      หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ