รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำเนื้อหารายวิชาเบื้องต้นที่จะเรียน และข้อตกลงในการเรียน, การวัดผลตลอดทั้งเทอม | 3 |
|
พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet พร้อมทั้งแนะนำเนื้อหาของรายวิชาทั้งหมดที่จะต้องเรียน, เอกสารประกอบการสอน,สื่อการสอนและการเรียนรู้, และการวัดประเมินผลการเรียนตลอดทั้งเทอม | |
2-5 |
ความหมายและสาระของสังคมวิทยาการเมือง - การเมืองคอะไร - ความหมายและสาระของสังคมวิทยาการเมือง - ขอบเขตการศึกษาสังคมวิทยาการเมือง - กำเนิดสังคมวิทยาการเมือง - ความแตกต่างระหว่างสังคมวิทยาการเมืองกับรัฐศาสตร์ |
6 |
|
บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet, ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนดให้ | |
4-5 | แนวความคิดเกี่ยวกับอำนาจ (Power) | 6 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet, 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด, 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม |
|
6-7 |
- ความหมายของอำนาจ - อำนาจและการใช้อำนาจทางการเมือง - มิติของอำนาจ - ลักษณะสำคัญของอำนาจ - ประเภทของอำนาจ - อำนาจในทัศนะของ อัลวิน ทอฟฟ์เลอร์ - แนวการศึกษาอำนาจในทางสังคมวิทยา |
6 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม |
|
8-9 |
การมีส่วนร่วมทางการเมือง (political participation) - การมีส่วนร่วมทางการเมืองคืออะไร - แนวคิดทฤษฎีเรื่องการมีส่วนร่วมทางการเมือง - ทำไมประชาชนจึงต้องมีส่วนร่วมทางการเมือง - ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมทางการเมืองได้อย่างไร - ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง - สาเหตุของการที่บุคคลไม่เข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง - พัฒนาการของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของคนไทย |
6 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม |
|
10 |
วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) - ความหมายของวัฒนธรรมทางการเมือง - ประเภทของวัฒนธรรมทางการเมือง - หลักเกณฑ์ในการให้นิยามความหมายวัฒนธรรมทางการเมือง - วัฒนธรรมทางการเมืองกับการกล่อมเกลาทางการเมือง - ความเสื่อมของวัฒนธรรมทางการเมือง - วัฒนธรรมทางการเมืองที่เอื้อต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย - วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย |
3 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม |
|
11-13 |
ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) - ความหมายของประชาธิปไตย - ความเป็นมาของกรปกครองระบอบประชาธิปไตย - ข้อสมมติเบื้องต้นของการปกครองระบอบประชาธิปไตย - รูปแบบการปกครองและสถาบันการเมืองในระบอบประชาธิปไตย - ปัจจัยที่เอื้อต่อการเป็นประชาธิปไตย - พัฒนาการของการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย - แนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยในอนาคต |
9 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet 2.ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด 3.ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม |
|
14 |
ผู้นำทางการเมือง (political leader) - แนวการศึกษาผู้นำทางการเมืองแบบต่างๆ - หลักเกณฑ์ของการมีสิทธิที่จะได้รับการเลือกสรรเป็นผู้นำทางการเมือง - ปัญหาการเลือกสรรผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาทางการเมือง |
3 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet, 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด, 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม | |
15 |
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง (Political Change) - ความหมายการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง - กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง - การพัฒนาทางการเมือง - ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง |
3 |
|
1.บรรยายผ่านทางโปรแกรม Google Meet 2. ให้นักศึกษาไปอ่านรายละเอียดและทำความเข้าใจเพิ่มเติมจากในหนังสือที่กำหนด 3. ให้นักศึกษาทำรายงานเพิ่มเติม |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าชั้นเรียนใน kku e-learning และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
10 | |
รายงาน 3 ชิ้น |
|
20 | |
สอบปลายภาค |
|
45 | |
งานกลุ่ม |
|
25 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2539). อนาคตผู้นำการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. (2539). สังคมทุรชน : ยุทธศาสตร์ความล่มสลายของสังคม. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชัยอนันต์ สมุทวนิช. (2539). อนาคตการเมืองไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สุขุมและบุตร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2556). สังคมวิทยาการเมือง (ฉบับปรับปรุง). ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. (2532). ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ : ฐานรากของถนนสู่ประชาธิปไตยอันสมบูรณ์. กรุงเทพฯ :วศิน. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | อเนก เหล่าธรรมทัศน์. (2550). สองนคราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : คบไฟ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อเนก เหล่าธรรมทัศน์. (2543). การเมืองของพลเมือง : สู่สหัสวรรษใหม่. กรุงเทพฯ : คบไฟ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Janoski, T. Alford; Hicks, A. R. & Schwartz, M. A. Editors. (2005). The Handbook of Political Sociology, States, Civil Societies, and Globalization. New York : Cambridge University Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Nash, Kate. (2000). Contempolary Political Sociology : Globalization, Politics and Power. Malden, Mass : Blackwell Publishing. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ