รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา กระบวน การเรียนการสอน การประเมินผล และข้อตกลงเบื้องต้น - ทบทวนความเข้าใจเบื้องต้นในเรื่อง เพศ เพศภาวะ และ เพศวิถี |
3 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learning อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในห้องเรียน |
|
2-3 |
- ความหมาย และมุมมองทางสังคมวิทยา เรื่องเพศ (sex) เพศภาวะ (gender) และ เพศวิถี (sexuality - ข้อถกเถียงเกี่ยวกับความหลากหลายของเพศวิถี - บรรทัดฐาน ค่านิยม เกี่ยวกับพศวิถี |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet บรรยาย เรื่อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น KKU e-Learning ในห้องเรียน |
|
4-5 |
เพศวิถี ในประวัติศาสตร์ เรื่องธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ สิ่งต้องห้าม ความบันเทิง |
6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ในห้องเรียน ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา บรรยาย เรื่อง ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ในห้องเรียน |
|
6-7 | เพศวิถี กับการแต่งงาน: มิติทางสังคม-วัฒนธรรม อำนาจ และประวัติศาสตร์ | 6 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ในห้องเรียน KKU e-Learning ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา บรรยาย เรื่อง YouTube ดูคลิป หรือยูทูป แล้วอภิปรายร่วมกัน ในห้องเรียน |
|
8-10 |
แนวคิดและวิธีวิทยาการศึกษาเพศวิถี - แนวคิดเชิงการแพทย์ - แนวคิดจิตวิทยา - แนวคิดเชิงวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์เพศในสังคมไทย |
9 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ในห้องเรียน บรรยาย เรื่อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในห้องเรียน |
|
11-13 | ปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวกับเพศภาวะ และเพศวิถี | 9 |
|
ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet ในห้องเรียน ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ บรรยาย เรื่อง ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ ในห้องเรียน |
|
14-15 | ทบทวนบทเรียน และการนำเสนอ | 6 |
|
ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ ในห้องเรียน ในห้องเรียน ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet KKU e-Learning ในห้องเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบปลายภาค |
|
30 | |
สอบกลางภาค |
|
20 | |
งานกลุ่ม การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
50 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
กฤตยา อาชวนิจกุล และกุลภา วจนสาระ.(2558). มองผ่านเลนส์เพสภาวะและความหลากหลาย: ข้อเสนอการพัฒนายุทธศาสตร์เพื่อสุขภาวะผู้หญิง. (ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สมาคมเพศ วิถีศึกษา. เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ และโครงการรงการจัดตั้งมูลนิธิเพื่อสิทธิและความเป็นธรรมทางเพศ. (2554). รายงานประเด็นสำคัญจากการประชุมระดมความคิดเห็นเครือข่ายความหลากหลาย ทางเพศ. วันที่ 5-7 กันยายน พ.ศ. 2554 ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2553). แนวคิดทฤษฎีเรื่อง “ความหลากหลายทางเพศ”. สืบค้นข้อมูลวันที่ 23 กรกฎาคม 2558, จากเว็บไซต์ : soc.ac.th/main/uploads/articles/sexual-diversity.pdf นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2553). ความเข้าใจเรื่องเพศ จากแนวคิดทฤษฎีที่หลากหลาย. สืบค้นข้อมูลวันที่ 23 กรกฎาคม 2558, จากเว็บไซต์ : soc.ac.th/main/uploads/article/gender.pdf นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2555 ). พื้นที่ของเพศนอกกรอบในสังคมไทย ในมิติการเมืองและวัฒนาธรรม. สืบค้นข้อมูลวันที่ 23 กรกฎาคม 2558, จากเว็บไซต์ : soc.ac.th/main/content_details.php?content_id733 นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. ( 2559). เพศและความเป็นชายในพุทธศาสนากับการควบคุมภิกษุ สามเณร และ บัณเฑาะก์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 12(1), 3 – 5. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. (2551). ประวัติศาสตร์ของเพศวิถี : ประวัติศาสตร์เรื่องเพศ/เรื่องเพศใน ประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง (สคส.) ชานันท์ ยอดหงส์. (2556). "นายใน" สมัยรัชกาลที่ ๖. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2548). ว่าด้วยเพศ ความคิด ตัวตน และอคติทางเพศ ผู้หญิง เกย์ เพศศึกษา และ กามารมณ์. กรุงเทพมหานคร : ศิลปวัฒนธรรม วราภรณ์ แช่มสนิท. (2551). วิธีคิดเรื่องเพศวิถีของรัฐไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ และพัชรินทร์ สิรสุนทร (2558) วาทกรรมทางการแพทย์เกี่ยวกับกะเทยในสังคมไทย สืบค้นข้อมูลวันที่ 23 กรกฎาคม 2558, จากเว็บไซต์ https://gsbooks.gs.kku.ac.th /58/the34th/pdf/HDO2.pdf วิจิตร ว่องวารีทิพย์. (2559). ความหลากหลายทางเพศในแบบเรียนไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อสิทธิ และความเป็นธรรมทางเพศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2558). บุคคลเพศหลากหลายในระบบกฎหมาย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อสิทธิ และความเป็นธรรมทางเพศ มูลนิธิธีรนาถ กาญจนอักษร และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สุไลพร ชลวิไล. (2545) หญิงรักหญิง: ผู้หญิงของความเป็น “อื่น”. ใน ชีวิตชายขอบ: ตัวตน กับ ความหมาย: กรณีศึกษา เกย์หญิงรักหญิง คนชรา คนเก็บขยะ วัยรุ่น เด็กข้างถนน. ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล, บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร . 96- 137. สุไลพร ชลวิไล. (2562) เพศแห่งสยาม ประวัติศาสตร์ความหลากหลายทางเพศ. กรุงเทพฯ : สถาบัน พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ สังกัดสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์กรมหาชน) |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ