รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำและชี้แจงเกี่ยวกับรายวิชา วิธีการเรียน กิจกรรม การสั่งงาน และการประเมินผล เอกสารและหนังสือประกอบการเรียน |
3 |
|
(1) แจกแผนการสอน (upload ในระบบล่วงหน้า)/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการเรียนการสอนรวมทั้งการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning (2) พบนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
2 |
ประวัติความเป็นมา มโนทัศน์ แนวคิด ระเบียบวิธีวิจัย - วัฒนธรรมศึกษาคืออะไร: นิยาม, ประวัติความเป็นมา มโนทัศน์ และวิธีวิทยาที่สำคัญในวัฒนธรรมศึกษา |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
3 |
มุมมองที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมอันเป็นสาระสำคัญของวัฒนธรรมศึกษา - Leavisism, วัฒนธรรมเป็นเรื่องสามัญ - High Culture vs. Low Culture |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
4 |
แนวคิดสำคัญในวัฒนธรรมศึกษา - วัฒนธรรมและอุดมการณ์ - มายาคติ, วาทกรรมและอำนาจ |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
5 |
วัฒนธรรมศึกษากับการสำรวจเรือนร่างของมนุษย์ - เรือนร่างทางวัฒนธรรม - พื้นที่แห่งการสร้าง ผลิตซ้ำ และช่วงชิงความหมาย |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
6 |
วัฒนธรรมประชานิยม - ความรู้และสาระสำคัญในวัฒนธรรมประชานิยม - ภาพสะท้อนของสังคมและการวิพากษ์ผ่านวัฒนธรรมประชานิยม |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
7 |
วัฒนธรรมศึกษา เพศสภาพ เพศวิถี และตัวตน - เพศวิถี (sexuality) - เพศสภาพ (gender) - สงครามแห่งตัวตน อัตลักษณ์ ภาพแทนและความหมาย |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
8 |
โลกาภิวัตน์และลัทธิพลเมืองโลก - โลกาภิวัตน์ระบบคุณค่าของสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
9 |
ประเด็นการวิเคราะห์ “อัตลักษณ์ (Identity)” ว่าด้วยมุมมองทางวัฒนธรรมศึกษา - วัฒนธรรมศึกษาในทัศนะของสำนักเบอร์มิงแฮม - แนวคิดของกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
10 |
ภาพตัวแทน (Representation) ในสำนักวัฒนธรรมศึกษา - แนวคิดภาพตัวแทน (Representation) - แนวคิดและความต่างของทฤษฎีแบบภาพสะท้อน (reflectionism) |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
11 |
การวิเคราะห์เชิงวัฒนธรรมของ โทรทัศน์ เนื้อหา และ ผู้รับสาร (Television, Texts and Audiences) - บทบาท และปัญหาของสื่อในการสร้างชุดความรู้ใหม่ - ยุควัฒนธรรมโทรทัศน์ - การวิเคราะห์ผู้รับสาร |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
12 |
พื้นที่ทางวัฒนธรรม (Cultural Space) - ความหมายของ “พื้นที่” (space) - แนวทางการศึกษาเรื่องพื้นที่ทางด้านวัฒนธรรมศึกษา - การประกอบสร้างทางสังคมของ “พื้นที่” (Social Construction of Space) |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
13 |
วัฒนธรรมวัยรุ่น และการต่อต้าน (Youth culture and Resistance) - แนวทางในการศึกษาวัฒนธรรมวัยรุ่นของสำนักเบอร์มิงแฮม - การครอบงำ/การต่อต้านการครอบงำทางวัฒนธรรม (hegemony/counter-hegemony) |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
14 |
การเมืองวัฒนธรรม (Cultural Politics) - การต่อสู้ทางการเมืองในปริมณฑลวัฒนธรรม - ประเด็นทางการเมืองโดยใช้พื้นที่ทางวัฒนธรรมในการต่อสู้ |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
15 |
วัฒนธรรมศึกษากับสังคมปัจจุบัน (Cultural Studies and Society) - วัฒนธรรมศึกษากับบทบาทในสังคม - ประเด็นวัฒนธรรมศึกษาในการต่อสู้กับโลกสมัยใหม่ |
3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบกลางภาค |
|
35 | |
การสอบปลายภาค |
|
35 | |
รายงานการสังเคราะห์ความรู้ และค้นคว้าด้วยตนเอง (รายงานรายบุคคล ครั้งที่ 1) |
|
10 | |
รายงานการสังเคราะห์ความรู้ และค้นคว้าด้วยตนเอง (รายงานรายบุคคล ครั้งที่ 2) |
|
10 | |
การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
10 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. 2549. ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโพรดักส์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพและคณะ. 2543. มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโพรดักส์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
---------------------- และสมสุข หินวิมาน. 2551. สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง กับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | เกษม เพ็ญภินันท์ (บก.). 2552. ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในมนุษยศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และพัชรินทร์ สิรสุนทร (บก.). 2545. วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ของคนไทย. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธเนศ วงศ์ยานนาวา. 2552. ความไม่หลากหลายของความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พัทยา สายหู. 2540. กลไกของสังคม. พิมพ์ครั้งที่9. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พัฒนา กิติอาษา. 2546. ท้องถิ่นนิยม. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: กองทุนอินทร์-สมเพื่อการวิจัยทางมานายวิทยา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์. 2552. มานุษยวิทยาปะทะวัฒนธรรมศึกษา: ยกเครื่องเรื่องวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อรศรี งามวิทยาพงศ์. 2549. กระบวนการเรียนรู้ในสังคมไทยและการเปลี่ยนแปลง: จากยุคชุมชนถึงยุคพัฒนา ความทันสมัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | อานันท์ กาญจนพันธุ์. 2549. อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้. กรุงเทพฯ: มติชน. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์. 2548. การศึกษาชุมชนเชิงพหุลักษณ์: บทเรียนจากวิจัยภาคสนาม. กรุงเทพฯ : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.). |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Barker, Chris. 2008. Cultural Studies: Theory and Practice. 3rd edition. Los Angeles: SAGE Publications. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Giddens, A. 2006. Sociology. 5th edition. Cambridge: Polity. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Habermas, J. 1983. The Structural transformation of the Public Sphere. Translated by Thomas Burger. Cambridge: MIT Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Hamelink, C. 1983. Cultural Autonomy in Global Communications. New York: Longman. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Inglis, Fred. 1993. Cultural Studies. Oxford: Blackwell. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
John B.Thomson. 1990. Ideology and Modern Culture, Critical Social Theory in the Era of Mass Communication. Cambridge: Policy Press. |
||
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม | Levitt, Theodore. 1983. The Globalization of Markets, Harvard Business Review May-June 1983. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Rogers, Everett. M. 1983. Diffusion of innovations. New York: Free Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Schramm, Wilbur. 1964. Mass Media and National Development. Stanford, CA: Stanford University Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Tomlinson, J. 1991. Cultural Imperialism: A critical introduction. London: Pinter. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Williams, R. 1981. Culture. London: Fontana. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Young, R. 1995. Colonial Desire: Hybridity in theory, culture and race. London: Routledge. | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | วัฒนธรรมศึกษาในเอเชียกับบทบาทของปัญญาชนฝ่ายซ้าย, http://www.thaingo.org/writer/view.php?id=429 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://www.sac.or.th/web2007/article/index.php?p=art_of_rebellion - Cultural studies, | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://en.wikipedia.org/wiki/Cultural_studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
- Centre for Contemporary Cultural Studies, http://en.wikipedia.org/wiki/Centre_for_Contemporary_Cultural_Studies |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Stuart Hall (cultural theorist), http://en.wikipedia.org/wiki/Stuart_Hall_(cultural_theorist) | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Cultural hegemony, http://en.wikipedia.org/wiki/Cultural_hegemony | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Stuart Hall and the Rise of Cultural Studies, https://www.newyorker.com/books/page-turner/stuart-hall-and-the-rise-of-cultural-studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - What is Cultural Studies?, http://culturalstudies.web.unc.edu/resources-2/what-is-cultural-studies/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Cultural Studies: Interdisciplinary Field, https://www.britannica.com/topic/cultural-studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Cultural Studies, https://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803095652927 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - International Journal of Cultural Studies, https://journals.sagepub.com/home/ics | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - World Wide Web Resources for Cultural Studies, http://www.inst.at/english/links.htm | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Sociology, Cultural Studies and the Cultural Turn, https://link.springer.com/chapter/10.1057/9781137318862_23 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - The Practice of Cultural Studies, https://www.researchgate.net/publication/42791027_The_Practice_of_Cultural_Studies | ||
โปรแกรมวีดีทัศน์ | - Comparative Cultural Studies, https://ec.europa.eu/ploteus/en/content/comparative-cultural-studies | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Interdisciplinary German Cultural Studies, https://www.degruyter.com/view/serial/IGCS-B | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | - Cultural Studies: Definition, Theory & Methodologies, https://study.com/academy/lesson/cultural-studies-definition-theory-methodologies.html |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ