Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS402301
ภาษาไทย
Thai name
การจัดระเบียบทางสังคม
ภาษาอังกฤษ
English name
SOCIAL ORGANIZATION
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วณิชชา ณรงค์ชัย
    • รองศาสตราจารย์พรอัมรินทร์ พรหมเกิด
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักชนก ชำนาญมาก
    • อาจารย์ภาณุ สุพพัตกุล
    • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสม
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย แนวคิด วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงขององค์การ แนวคิดองค์การ หลักการพื้นฐานการจัดการองค์การภาครัฐ เอกชน และองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร การประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ กรณีศึกษา
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, concepts, evolutions and changes of organization, concepts of organization, basic principles of public, private, nonprofit organizations, application of organization concepts to solve the problem of management in modern world, case studies
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ชี้แจงเงื่อนไขรายวิชา และให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตั้งกฎกติกาของชั้นเรียน
    บทที่ 1 ความหมาย และแนวคิดขององค์การทางสังคม
    - ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับการจัดระเบียบทางสังคม
    - แนวคิดเกี่ยวกับการจัดระเบียบสังคมขององค์กรทางสังคม
    - ความหมายของการจัดระเบียบสังคมขององค์กรทางสังคม
    - องค์ประกอบการจัดระเบียบสังคมขององค์การ
    - บรรทัดฐานทางสังคม
    - วิถีประชา/จารีต/
    - กฎหมาย
    - สถานภาพ
    - บทบาท
    - กลุ่มทางสังคม
    - สถาบันทางสังคม
    - ครอบครัว การศึกษา
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU
    E-Learning หรือโปรแกรม Google Classroom
    (2) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
    (3) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและจับกลุ่มทำงาน
    (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา

    3-4 บทที่ 2 แนวคิดองค์การ และวิวัฒนาการขององค์การ
    - ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่
    - ทฤษฎีความขัดแย้ง
    - แนวคิดองค์การ
    - หลักการพื้นฐานการจัดการ
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    5 บทที่ 3 หลักการพื้นฐานการจัดการภาคชุมชน
    - ความหมายของการจัดการ
    - ลักษณะของการจัดการชุมชน
    - รูปแบบการจัดการชุมชน
    - การจัดการกับการจัดระเบียบทางสังคมของชุมชน
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C2: นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปราย (Case Discussion)
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    6-7 บทที่ 4 หลักการพื้นฐานการจัดการภาครัฐ
    - ลักษณะองค์กรแบบราชการ
    - องค์กรที่มีโครงสร้างไม่เป็นทางการ
    - องค์กรที่มีโครงสร้างที่เป็นทางการ
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C2: นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปราย (Case Discussion)
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    8-9 บทที่ 5 หลักการพื้นฐานการจัดการภาคเอกชน และองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร
    - โครงสร้างทางสังคม
    - กลไกการดำเนินงานขององค์กรภาคเอกชน และองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร
    - การจัดการของภาคเอกชน และองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร
    - ความซื่อสัตย์ต่อองค์กร
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C2: นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปราย (Case Discussion)
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา


    10-11 บทที่ 6 ปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    - ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
    - สังคมอุดมคติ [Utopia]
    - สังคมในจินตนาการ [Dystopia]
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C2: นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปราย (Case Discussion)
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    13-14 บทที่ 7 การแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    + มาตราการลงโทษ ทางสังคม
    - ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและการต่อต้านการคอร์รัปชั่น
    - การใช้มาตราการลงโทษโดยสังคมในการต่อต้านการคอร์รัปชั้นในสังคมไทย
    + การลงโทษโดยสังคม
    - การลงโทษทางสังคม กรณีศึกษาเปรียบเทียบสถานการณ์ต่างประเทศและประเทศไทย
    - การลงโทษทางสังคมเชิงบวก
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K3: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C2: นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    (1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
    (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปราย (Case Discussion)
    (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom
    (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
    15 นำเสนอผลการศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K3: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    • C1: นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้แนวคิดองค์การกับการแก้ไขปัญหาการจัดการในโลกสมัยใหม่
    • C2: นักศึกษามีความรักและภูมิใจในท้องถิ่นสถาบันและเข้าใจในความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม
    • C3: ความรับผิดชอบในการเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยการเข้าชั้นเรียนอย่างตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
    1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout)
    (2) นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่ม
    (3) อาจารย์ประเมินผลรายงาน ตอบข้อซักถาม และทบทวนเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา

    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    1. กิจกรรม
    1.1 การมีส่วนร่วมและการเข้าชั้นเรียน
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    10 ประเมินตลอดภาคการศึกษา
    1.2 แบบฝึกหัดในรายวิชา (งานกลุ่มและงานเดี่ยว )
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K3: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    15 ประเมินตลอดภาคการศึกษา
    1.3 รายงานและการนำเสนอผลการศึกษา
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K3: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    25 ประเมินตลอดภาคการศึกษา
    2. สอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    20 นัดหมายนอกตาราง มข.30
    3. สอบปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K2: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบ ทางสังคม และการควบคุมทางสังคม
    • K3: นักศึกษามีความคิดวิเคราะห์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสม
    • S1: นักศึกษามีความสามารถสืบค้นและประเมินความรู้สารสนเทศเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดระเบียบทางสังคม การเสียระเบียบทางสังคม และการควบคุมทางสังคมได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษามีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนร่วมกัน
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการสื่อสาร และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
    30 ตามตาราง มข.30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Dean, Hartley. (1991) Social Security and Social Control. London : Routledge.
    หนังสือ หรือ ตำรา จันทร์เพ็ฐ อมรเลิศวิทย์. (2547). การควบคุมทางสังคม (Social Control). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
    หนังสือ หรือ ตำรา คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2556). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด นวสาส์น การพิมพ์.
    หนังสือ หรือ ตำรา โครงการวิชาบูรณาการหมวดศึกษาทั่วไป. (2542). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (2540). สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์. (2547). ทฤษฎีไร้ระเบียบกับทางแพร่งของสังคมสยาม. พิมพ์ครั้งที่ 5 . กรุงเทพฯ : สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม.
    หนังสือ หรือ ตำรา ทัศนีย์ ทองสว่าง. (2547). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2545). เอกลักษณ์ของชาติกับการจัดระเบียบสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อมรินทร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา พระธรรมปิฎก ((ป.อ.ปยุตโต. (2547). จัดระเบียบสังคมตามคตินิยมแห่งสังฆะ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา พระธรรมปิฎก ((ป.อ.ปยุตโต. (2552). วิถีชุมชน : สุ จิ ปุ ลิ 5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศีนครินทรวิโรฒ.
    หนังสือ หรือ ตำรา พัทยา สายหู. (2555). กลไกของสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา ยุทธพงศ์ จันทรวรินทร์. (2550). มนุษย์กับสังคม : ทฤษฎีและหลักประยุกต์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวานิช. (2553). ทฤษฎีสังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุพัตรา สุภาพ. (2541). ปัญหาสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
    หนังสือ หรือ ตำรา เสน่ห์ จามริก. (2542). สังคมไทยกับการพัฒนาที่ก่อปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไว้ลาย.
    หนังสือ หรือ ตำรา Marshall, Gordon. (1994). A Dictionary of Sociology. New York : Oxford University Press.
    หนังสือ หรือ ตำรา Schaefer, Richard T. and Lamm, Robert P. (1992). Sociology. 4 edth. New York : McGraw-Hill, Inc.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
    บนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้
    อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ