Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423403
ภาษาไทย
Thai name
ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
ภาษาอังกฤษ
English name
QUALITATIVE RESEARCH METHODOLOGY
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(2-3-5)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ ศรีหล้า
    • อาจารย์ชีรา ทองกระจาย
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมในสังคมที่แตกต่าง ผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ฐานคิดในการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม ลักษณะการวิจัยและข้อมูลเชิงคุณภาพ แนวคิดที่สำคัญ ขั้นตอน เทคนิค และวิธีการที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ในการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Philosophy in phenomenology; application, of the qualitative research; characteristic of qualitative research and data; key concept; process and methodology in qualitative methodology.
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 ความรู้เบื้องต้นในการวิจัยเชิงคุณภาพ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) ชี้แจงและแจกแผนการสอน อธิบายวิธีการสอน เนื้อหาที่สอน เอกสารตำราและสื่อประกอบการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
    2) การบรรยายโดยใช้ ppt.
    3) ให้แบ่งกลุ่ม คิดหัวข้อ และอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงคุณภาพ
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    3-4 แนวคิดพื้นฐานที่ควรทราบในการวิจัยเชิงคุณภาพ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) มอบหมายให้นักศึกษาทบทวนความรู้ทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรมที่เรียนมา(ล่วงหน้า)เพื่อนำมาอธิบายปรากฎการณ์จากตัวอย่างสื่อที่ให้ชม ให้นักศึกษาชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้
    2) อธิบายการประยุกต์ใช้แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาปรากฎการณ์ที่ชม
    3) วัดความเข้าใจจากนำเสนอของนักศึกษา
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    5-7 เทคนิค/วิธีการในการทำงานภาคสนามในการวิจัยเชิงคุณภาพ 9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมในสังคมที่แตกต่าง ผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมตัวอย่างเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ
    2) มอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติในแต่ละขั้นตอนและนำเสนอ
    3) วัดความรู้จากงานทีศึกษา
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    8-11 กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ 12
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมในสังคมที่แตกต่าง ผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการทำความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรม
    2) อภิปรายเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการทำงานของนักมานุษยวิทยาประยุกต์
    3) วัดความเข้าใจจากการที่นักศึกษนำเสนอและอภิปราย
    4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน
    12-14 การฝึกปฏิบัติและนำเสนอผลการศึกษา 9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมในสังคมที่แตกต่าง ผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) นักศึกษาจับกลุ่มในการศึกษาประเด็นที่สนใจ และนำเสนอหัวข้อ
    2) วัดความเข้าใจจากตัวอย่างในการศึกษา
    3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน และเสนอแนะเพื่อให้นักศึกษาเพื่อปรับปรุงแก้ไขงาน
    15 สรุปภาพรวมของการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมในสังคมที่แตกต่าง ผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    1) บรรยายสรุป
    2) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน

    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    สอบกลางภาค และปลายภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    50
    รายงาน -ค้นคว้าทฤษฎี
    - การประยุกต์ใช้หลักการ แนวคิด พื้นฐานในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    - การฝึกปฏิบัติเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล
    - การศึกษาประเด็นที่สนใจ
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในลักษณะ เทคนิควิธีการ และกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K2: มีทักษะและประสบการณ์ในการใช้เทคนิควิธีการและกระบวนการในการวิจัยเชิงคุณภาพ
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์และวัฒนธรรมในสังคมที่แตกต่าง ผ่านกระบวนการฝึกปฏิบัติ
    • S1: นักศึกษาสามารถค้นหา ตีความและประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
    • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการประยุกต์และอธิบายปรากฎการณ์ใน แต่ละสถานการณ์และแก้ปัญหาการทำงานได้
    • S3: นักศึกษาสามารถทำรายงานเชิงวิจัยและนำหลักการ แนวคิด เทคนิค วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพไปใช้ในการศึกษาปรากฎการณ์ต่างๆ
    • E1: นักศึกษาเรียนรู้ เข้าใจริยธรรมในการวิจัย และสามารถปฏิบัติได้
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและการทำงานกลุ่ม รวมทั้งตระหนักและมีจริยธรรมในวิชาชีพในการทำงาน และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมนุษย์ในทุกวัฒนธรรมในสังคม
    50 3 papers
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา สมใจ ศรีหล้า.2555. เครื่องมือช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ เอกสารประกอบการสอน วิชา 415 344 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ บทที่3. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    หนังสือ หรือ ตำรา โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และคณะ.2545.วิถีชุมชน กรุงเทพฯ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข.
    หนังสือ หรือ ตำรา ชาย โพธิสิตา. 2547. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ กรุงเทพฯ สถาบันประชากรและสังคม. มหาวิทยาลัยมหิดล.
    หนังสือ หรือ ตำรา นิศา ชูโต.2540. การวิจัยเชิงคุณภาพ กรุงเทพฯ พีเอการพิมพ์.
    หนังสือ หรือ ตำรา เบญจา ยอดดำเนิน- แอตติกส์.2533. การศึกษาเชิงคุณภาพ : เทคนิคการวิจัยภาคสนาม กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยมหิดล.
    หนังสือ หรือ ตำรา เบญจา ยอดดำเนิน- แอตติกส์ และกาญจนา ตั้งชลทิพท์.2552. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ :การจัดการข้อมูลการตีความและการหาความหมาย กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยมหิดล.
    หนังสือ หรือ ตำรา ปาริชาติ วลัยเสถียร.2543. กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร.2544. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: แนวคิดและแนวปฏิบัติ กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2547. วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ: การวิจัยปัญหาปัจจุบันและการวิจัยอนาคต. กรุงเทพฯ เฟื่องฟ้าพริ้นติ้งค์ จำกัด.
    หนังสือ หรือ ตำรา สุภางค์ จันทวนิช.2537. การวิจัยเชิงคุณภาพ พิมพ์ครั้งที่5.กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.สาขาสังคมศาสตร์.2537. การวิจัยเชิงคุณภาพ : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการศึกษาและสังคมสมัยใหม่ พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ สาขาสังคมศาสตร์.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
    หนังสือ หรือ ตำรา อานันท์ กาญจนพันธุ์.2544. วิธีคิดเชิงซ้อนในการวิจัยชุมชน กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
    หนังสือ หรือ ตำรา อุทัย ดุลยเกษม.(บรรณาธิการ)2536. คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพ ขอนแก่น.สถาบันวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
    2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

    3. ด้านทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
    4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
    4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
    5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ