รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | แนะนำและชี้แจงเกี่ยวกับรายวิชา วิธีการเรียน กิจกรรม และการประเมินผล | 3 |
|
(1) แจกแผนการสอน (upload ในระบบล่วงหน้า)/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการเรียน การสอนรวมทั้งการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning (2) พบนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และ การประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (3) นักศึกษาจับกลุ่มเพื่อวางแผนในการทำรายงาน (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
2 | ความหมาย ลักษณะ และความสำคัญของชายแดน | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
3 | พัฒนาการของชายแดนศึกษา | 3 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
4-5 | การเคลื่อนย้ายข้ามเขตแดน | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
6-7 | ชาติพันธุ์ธำรงและชาตินิยมในพื้นที่ชายแดน | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
8-9 | วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของผู้คนในพื้นที่ชายแดน | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
10-11 | เศรษฐกิจชายแดน | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
12-13 | ปัญหาในพื้นที่ชายแดน | 6 |
|
(1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
14-15 |
- การนำเสนอรายงานของนักศึกษา - สรุป |
6 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรมออนไลน์ (2) นักศึกษานำเสนอรายงานกลุ่ม ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) การถาม-ตอบโดยอาจารย์และนักศึกษาที่ฟังการนำเสนอรายงานของแต่ละกลุ่ม (4) อาจารย์และผู้เรียนสรุปประเด็นหรือสาระสำคัญที่ได้เรียนรู้ในวิชาร่วมกัน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การสอบกลางภาค |
|
30 | นัดหมายนอกตาราง |
การสอบปลายภาค |
|
40 | ตามตาราง มข. 30 |
กิจกรรมสืบค้นข้อมูลและแบ่งปันทาง e-learning |
|
5 | สัปดาห์ที่ 1 - 15 |
รายงานและการนำเสนอรายงาน |
|
20 | ตลอดภาคการศึกษา |
การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
5 | ตลอดภาคการศึกษา |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
จักรกริช สังขมณี. (2551). พรมแดนศึกษาและมานุษยวิทยาชายแดน: การเปิดพื้นที่ สร้างเขตแดน และการข้ามพรมแดน ของความรู้. สังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) 20(2): 209-257. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Donnan, Hastings and Thomas M. Wilson. (1999). Borders: Frontiers of Identity, Nation and State. Oxford & New York: Berg. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Donnan, Hastings and Thomas M. Wilson, eds. (2010). Borderlands: Ethnographic Approaches to Security, Power, and Identity. Lanham: University Press of America. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
กัลปพฤกษ์ ผิวทองงาม. (2548). ค้าขายชายแดน : โครงสร้างตลาดการค้าชายแดนไทย-ลาว : กรณีศึกษาด่านมุกดาหาร. ขอนแก่น : ศูนย์พหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
“คนพลัดถิ่น-คนข้ามแดน”. เอกสารประกอบการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 6 “รัฐ จากมุมมองของชีวิต ประจำวัน”, 28 – 30 มีนาคม 2550 จัดโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2543). ชุมชนมุสลิมในตลาดชายแดนไทย-พม่า: สัมพันธภาพระหว่างพหุสังคม วิถีชีวิตทางเศรษกิจ และการธำรงชาติพันธุ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2554). ทุนนิยมชายแดน : นิคมเกษตรกรรมยางพารา และการเปลี่ยนแปลงของสังคมเกษตรกรรมในภาคใต้ของลาว. เชียงใหม่ : ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
พรมิมล ตรีโชติ. (2547). การค้าชายแดนไทยกับอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง. กรุงเทพฯ : หน่วยปฏิบัติการวิจัยแม่โขงศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2552). การผลิตความหมาย “พื้นที่ประเทศไทย” ในยุคพัฒนา (2500-2509). เอกสารวิชาการประกอบการสัมมนา “รัฐชาติ-พรมแดน: ความขัดแย้งและข้อยุติบนเส้นทางสันติภาพอาเซียน” 27 พ.ย. 2552. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วันดี สันติวุฒิเมธี. (2545). “กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทใหญ่ชายแดนไทยพม่า กรณีศึกษา หมู่บ้านเปียงหลวง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่. ใน ล้านนา: จักรวาล ตัวตน และอำนาจ. กรุงเทพฯ: โครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วิศวมาศ ปาลสาร. (2552). ความขัดแย้งที่บ้านร่มเกล้าจากทรรศนะหนังสือพิมพ์ลาว. เอกสารวิชาการประกอบการสัมมนา “รัฐชาติ-พรมแดน: ความขัดแย้งและข้อยุติบนเส้นทางสันติภาพอาเซียน” 27 พ.ย. 2552. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สมฤทธิ์ ลือชัย. (2552). สิ่งที่เห็นและไม่เห็นบนพรมแดนไทย/สยาม. เอกสารวิชาการประกอบการสัมมนา “รัฐชาติ-พรมแดน: ความขัดแย้งและข้อยุติบนเส้นทางสันติภาพอาเซียน” 27 พ.ย. 2552. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุรชาติ บำรุงสุข. (2552). สร้างสันติภาพชายแดน! เปลี่ยน “จับอาวุธ” เป็น “จับมือ” ปัญหาเขตแดนไทย-กัมพูชา: ทางออกหรือทางตัน!. เอกสารวิชาการประกอบการสัมมนา “รัฐชาติ-พรมแดน: ความขัดแย้งและข้อยุติบนเส้นทางสันติภาพอาเซียน” 27 พ.ย. 2552. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2552). พัฒนาการของรัฐชาติกับความขัดแย้งภายในของชาวสยาม. เอกสารวิชาการประกอบการสัมมนา “รัฐชาติ-พรมแดน: ความขัดแย้งและข้อยุติบนเส้นทางสันติภาพอาเซียน” 27 พ.ย. 2552. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Alvarez, Robert R. (1995). The Mexican-US Border: The Making of an Anthropology of Borderlands. Annual Review of Anthropology 24:447-470. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Aranya Siriphon. (2007). Dress and Cultural Strategy: Tai Peddlers in Transnational Trade along the Burma-Yunnan Frontier. Asian Ethnicity 8(3):219-234. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Berg, Eiki and Henk van Houtum. (2003). Prologue: A Border is Not a Border - Writing and Reading Borders in Space. In Routing Borders Between Territories, Discourses and Practices. Eiki Berg and Henk van Houtum, eds. Pp. 1-10. Aldershot; Burlington, VT: Ashgate. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Blumi, Isa. (2010). Illicit Trade and the Emergence of Albania and Yemen. In Understanding Life in the Borderlands: Boundaries in Depth and in Motion. I. William Zartman, ed. Pp.58-84. Athens & London: The University of Georgia Press. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Chit Hlaing, Lehman. (2007). The Shan Role in the Constitute of the Wa Kingdom of Ban Hong, Burma-China Border. In Shan Buddhism and Culture, 8-9 December 2007, SOAS, LONDON. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Dwyer, John. (2007). Mexicanizing Baja California in the Postrevolutionary Era: The Role of Race, Class, Culture, Social Engineering, and Nationalism. In Crossing OVer: Redefining the Scope of Border Studies. Anthonio Medina-Rivera and Diana Orendi, eds. Pp. 2-19. Newcastle: Cambridge Scholars Publishing. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Flynn, Donna K. (1997). “We are the Border”: Identity, Exchange, and the State along the Benin- Nigeria Border. American Ethnologist 24 (2), 311-330. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Grundy-Warr, Carl and Karin Dean. (2003). The Boundaries of Contested Identities: ‘Kachin” and “Karenni” Spaaces in the Troubled Borderland of Burma. In Routing Borders Between Territories, Discourses and Practice. Eiki Berg and Henk van Houtum, eds. Pp. 75-96. Aldershot; Burlington, VT: Ashgate |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Hamilton, Francis and Charney, Michael W. (2003). An Account of the Frontier Between Ava and the Part of Bengal Adjacent to the Karnaphuli River (1825), by Francis Hamilton, edited by Michael W. Charney. SOAS Bulletin of Burma Research 1(2):.11-18. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Havrelock, Rachel. (2010). Pioneers and Refugees: Arabs and Jews in the Jordan River Valley. In Understanding Life in the Borderlands: Boundaries in Depth and in Motion. I. William Zartman, ed. Pp.189-216. Athens & London: The University of Georgia Press. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Jaggapan Cadchumsang. (2011). People at the Rim: A Study of Tai Ethnicity and Nationalism in a Thai Border Village. Ph.D. dissertation, University of Toronto. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Keyes, Charles F. (1979). Introduction. In Ethnic Adaptation and Identity: The Karen on the Thai Frontier with Burma. Charles F. Keyes, ed. Pp.1-23. Philadelphia: Instituet for the Study of Human Issues. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Kokot, Waltraud. (2012). Culture and Space: Anthropological Approaches. Electronic doument, http://www.ethnologie.uni-hamburg.de/de/pdfs/Ethnoscripts_pdf/es_9_1_artikel1.pdf, accessed February 14. 2013. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Martínez, Oscar J. (1994). Border People: Life and Society in the U.S.-Mexico Borderlands. Tucson: University of Arizona Press |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Medina-Rivera, Antonio and Diana Orendi. (2007). Introduction. In Crossing OVer: Redefining the Scope of Border Studies. Anthonio Medina-Rivera and Diana Orendi, eds. Pp. viii-xv. Newcastle: Cambridge Scholars Publishing. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Newman, David. (2003). Boundary Geopolitics: Towards a Theory of Territorial Lines? In Routing Borders Between Territories, Discourses and Practices. Eiki Berg and Henk van Houtum, eds. Pp. 277-291. Aldershot; Burlington, VT : Ashgate. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Pinkaew Laungaramsri. (2006). Women, Nation, and the Ambivalence of Subversive Identification along the Thai-Burmese Border. Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia 21(1):68-89. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Romo, Harriett and Raquel R. Márquez. (2010). Who’s Who across the U.S.-Mexico Border: Identities in Transition. In Understanding Life in the Borderlands: Boundaries in Depth and in Motion. I. William Zartman, ed. Pp.217-234. Athens & London: The University of Georgia Press. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Stea, David et. al. (2010). Change and Non-change in the U.S.-Mexican Borderlands after NAFTA. In Understanding Life in the Borderlands: Boundaries in Depth and in Motion. I. William Zartman, ed. Pp.105-132. Athens & London: The University of Georgia Press. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Tannenbaum, Nicola (2007) Being Shan on the Thai Side of the Border: Continuities and Transformations in Shan Culture and Identity in Maehongson, Thailand. In Shan Buddhism and Culture, 8-9 December 2007, SOAS, London. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Thongchai Winichakul. (1994). Siam Mapped: A History of the Geo-Body of a Nation. Honolulu: University of Hawaii Press. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
Wijeyewardene, Gehan, ed. (2002). The Frontiers of Thailand. In National Identity and Its Defenders: Thailand Today. 2nd edition. Craig J. Reynolds, ed. Pp. 126-154. Chiang Mai: Silkworm Books. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Zartman, I. William, ed. (2010). Understanding Life in the Borderlands: Boundaries in Depth and in Motion. Athens & London: The University of Georgia Press. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | กลยุทธ์การพัฒนาเศรษฐกิจใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (Economic Development in Three Southern Provinces). URL: http://strategy.dip.go.th/ยทธศาสตรกสอ/กลยทธการพฒนาเศรษฐกจใน3จงหวดชายแดนภาคใต/tabid/74/Default.aspx | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน กระทรวงมหาดไทย. URL: http://www.osmsouth-border.go.th/event.php | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | กองกิจการชายแดนไทย-ลาว. URL: http://tncbcc.rtarf.mi.th/tncbcc1/index.php?option=com_content& view=article&id=36&Itemid=65 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | การค้าชายแดนกับ AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. URL: www.thai-aec.com/tag/การค้าชายแดน | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
การค้าชายแดนของภาคเหนือ. URL: http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Thai/North/ EconConditions/BorderTrade/Pages/BorderMarket.aspx |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | การค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2555 (มกราคม – สิงหาคม). URL: http://www.dft.go.th/Portals/0/ ContentManagement/Document_Mod666/รวมค้าชายแดน-ส.ค.55@25551123-1427547271.pdf | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | การค้าชายแดนไทยด้านจังหวัดเชียงราย ปี 2554. URL: http://www.moc.go.th/opscenter/cr/crweb/data/ Trade_Data/2012/News/การค้าชายแดน จ. เชียงรารย ปี 2554.pdf | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | การปรับเปลี่ยนชาติพันธุ์ และอัตลักษณ์ : กะเหรี่ยงบริเวณพรมแดนไทยกับพม่า. URL: http://teacher.aru.ac.th komluck/images/stories/ethnic%20adapptation%20and%20identity%201%281%29.doc | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนจังหวัดเชียงราย. URL: http://www.moc.go.th/opscenter/cr/crweb/ data/Trade_Data/เขตเศรษฐกิจพิเศษ/เอกสาร/นำเสนอ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนจังหวัดเชียงราย.pdf | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | เกาะติดสถานการณ์ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้. URL: http://202.47.224.92/SouthernThailand | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | คณะกรรมาธิการกิจการชายแดนไทย. URL: http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ ewt_w3c/main.php?filename=committee_02 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | คณะกรรมการเพื่อโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ. URL: http://www.gms4.net/joomla/index.php | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ขนชายแดนลุ่มน้ำโขง : บทเรียนเชิงนโยบาย. URL: http://www.trf.or.th/index.php?option=com_ rubberdoc&view=doc&id=188&format=raw&Itemid=212 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ชายแดนใต้ | DeepSouthWatch. URL: http://www.deepsouthwatch.org/tags/ชายแดนใต้ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ฐานข้อมูลวิจัยจังหวัดชายแดนใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. URL: http://soreda.oas.psu.ac.th | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ประวัติศาสตร์สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. URL: http://yeawya.prd.go.th/view_ebook.php?id=9 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ภาวะการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา. URL: http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/AsianEconomies/ cambodia/EcoData_Cambodia/Pages/bordertrade.aspx | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ภูมิศาสตร์ประเทศไทย. URL: http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/geography/geo1.htm | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ยุทธศาสตร์การค้าชายแดน. URL: http://www.thaichamber.org/scripts/stratigic.asp?Tag=7&nShowMag= 1&nPAGEID=83 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ยุทธศาสตร์การพัฒนาชายแดนภาคใต้. URL: http://region.nesdb.go.th/SESO/research_south/data01.doc | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
ายงานภาวะการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทยกับ สปป.ลาว ประจำเดือนมกราคม 2555. URL: http://www.moc.go.th/opscenter/cr/data/ Trade_Data/2012/News/มกราคม 55 รวม 11 จังหวัด.pdf |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | รายงานสถิติการค้าชายแดนไทยกับพม่า. URL: http://bordertrade.dft.go.th/DFT/Report/4.7.2.Detail.asp? Country_Code=MM | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
ศูนย์ข้อมูลการค้าชายแดน. URL: http://www.dft.moc.go.th/document/foreign_trade_policy/service/horizon default.htm |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการค้ามนุษย์. URL: http://www.notforsale.in.th | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ศูนย์ประสานงานประมงชายแดนทางทะเลไทย - พม่า. URL: http://www.navy.mi.th/tmbfcc | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ศูนย์พัฒนาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้. URL: http://www.southborder.go.th/html | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้. URL: http://www.sbpac.go.th/sbpac/index.php | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
เศรษฐกิจประเทศลุ่มแม่น้ำโขง. URL: http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/AsianEconomies Pages/Econ%20Makhong%20canel%20Area.aspx |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | สถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา - กระทรวงการต่างประเทศ. URL: http://www.mfa.go.th/main/th/media-center/1926 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | สถิติการค้าชายแดน. URL: http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/AsianEconomies/Laos/ EconData_Laos/Pages/Border%20Trade%20Data.aspx | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | สำนักพัฒนาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้. URL: http://www.ed-south.net/edsouth | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
อนาคตการค้าชายแดน หลัง AEC. URL: http://www.thanonline.com/download/2555-12-12-Sammana-AEC- Khun-Photcha-Ni.pdf |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Border. URL: http://en.wikipedia.org/wiki/Border | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Border Studies Bibliography. URL: http://www.research.ucsb.edu/ccs/biblio.pdf | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Border Studies, Michigan State University. URL: https://www.msu.edu/~smichael/border.html | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Center for Cross Border Studies. URL: http://www.crossborder.ie | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
Center for Inter-American and Border Studies (CIBS), University of Texas at El Paso. URL: http://www.utep.edu/cibs |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Centre for International Borders Research, Queen's University Belfast. URL: http://www.qub.ac.uk/ research-centres/CentreforInternationalBordersResearch | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Center for Migration and Border Studies (CMBS). URL: http://latinostudies.nd.edu/cmbs | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Comparative Border Studies, Arizona State University. URL: http://borders.asu.edu | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | Economic Corridors (ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง). URL: http://www.thai-aec.com/83 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | The Association for Borderlands Studies (ABS). URL: http://www.absborderlands.org |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ