รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมศาสตร์
Social Sciences
วิชาเอก
Major
วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Major in Sociology and Anthropology
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2561
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานการวิจัยเชิงประเมินผลโครงการ 1.1ความหมายและขอบเขตของการศึกษา 1.2 ปรัชญาของการประเมิน 1.3 พัฒนาการของการประเมินผล 1.4 เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการประเมินผลโครงการ 1.5 ประเภทของการประเมินผลโครงการ 1.6 ประโยชน์ของการประเมินผลโครงการ |
5 |
|
(1) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือโปรแกรม Google Classroom (2) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (3) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและจับกลุ่มทำงาน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
2 |
บทที่ 2 การเขียนโครงการ 2.1 การเขียนโครงการแบบดั้งเดิม (ส่วนประกอบของโครงการแบบดั้งเดิม) 2.2 การเขียนโครงการแบบเหตุผลสัมพันธ์ (ส่วนประกอบของเมทริกซ์เหตุผลสัมพันธ์ แนวทางการเขียนเหตุผลสัมพันธ์) |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
3 |
บทที่ 3 การประเมินผลโครงการก่อนดำเนินการ 3.1 จำกัดความ 3.2 วัตถุประสงค์ของการประเมินผลโครงการก่อนดำเนินการ 3.3 เทคนิคและวิธีการในการประเมิน 3.4 การใช้ผลการประเมินโครงการ |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
4 |
บทที่ 4 การเมินผลโครงการขณะดำเนินการ 4.1 ความหมายและการประเมินผลรขณะดำเนินการ 4.2 วัตถุประสงค์ของการประเมินผลโครงการขณะดำเนินการ 4.3 เทคนิคและวิธีการในการประเมิน 4.4 การใช้ผลการประเมินโครงการ |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
5 |
บทที่ 5 การเมินผลโครงการหลังดำเนินการ 5.1 ความหมายและการประเมินผลโครงการหลังดำเนินการ 5.2 วัตถุประสงค์ของการประเมินผลโครงการหลังดำเนินการ 5.3 เทคนิคและวิธีการในการประเมิน 5.4 การใช้ผลการประเมินโครงการ |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
6 |
บทที่ 6 รูปแบบการประเมินผลโครงการ 6.1 รูปแบบของไทเลอร์ 6.2 รูปแบบของครอนบาช 6.3 รูปแบบของสเต็ก 6.4 รูปแบบของโพรวัส 6.5 รูปแบบของชิปป์ 6.6 รูปแบบบูรณาการ |
5 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
7 |
บทที่ 7 ข้อมูลเพื่อการประเมินผล 7.1 เครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้อมูล 7.2 การวิเคราะห์ข้อมูล 7.3 การกำหนดหาเกณฑ์เพื่อการประเมินผลโครงการ |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
8 |
บทที่ 8 การเผยแพร่ข่าวสารการประเมินผลและจรรยาบรรณ 8.1 แหล่งการเผยแพร่ข่าวสาร 8.2 วิธีการเผยแพร่ข่าวสาร 8.3 จรรยาบรรณในการประเมินผล บทที่ 9 การเขียนโครงการประเมินผลโครงการ 9.1 ชื่อโครงการ 9.2 ความเป็นมา/ภูมิหลัง 9.3 วัตถุประสงค์ 9.4 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 9.5 วิธีดำเนินการ |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
9-10 |
บทที่ 10 การวางแผนโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 10.1 การศึกษาปัญหา/หลักการและเหตุผลในการดำเนินโครงการ 10.2 การวิเคราะห์โครงการ 10.3 การจัดทำข้อเสนอโครงการ 10.4 การดำเนินการโครงการ 10.5 การยุติโครงการ |
10 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว และกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
11 |
บทที่ 11 เทคนิคการฝึกอบรมทรัพยากรมนุษย์ 11.1 กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ 11.2 การจัดประชุม และเทคโนโลยีการฝึกอบรม 11.3 การเป็นวิทยากรฝึกอบรม |
5 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว และกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
12-14 |
บทที่ 12 ปฏิบัติการ/ดำเนินโครงการ 12.1 การดำเนินการก่อนการฝึกอบรม 12.2 การดำเนินการระหว่างฝึกอบรม 12.3 เทคนิคที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการฝึกอบรม |
15 |
|
(1) นักศึกษาทำงานกลุ่ม โดยออกแบบหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทรัพยกรมนุษย์ ให้กับชุมชนหรือองค์กร ตามการวิเคราะห์ปัญหา จากรายงานวิเคราะห์ชุมชน และรายงานวิจัย (2) นักศึกษาทำงานกลุ่มพัฒนาเอกสารประกอบการฝึกอบรม และการประเมินผลโครงการ (3) นักศึกษาทำงานกลุ่ม ลงปฏิบัติการภาคสนาม ประสานงานพื้นที่และดำเนินการจัดโครงการฝึกอบรม (โครงการบริการวิชาการ) โดยแบ่งทำหน้าที่ต่างๆ และรับผิดชอบต่องาน) (4) อาจารย์ให้คำแนะนำ ติดตามการประสานงานโครงการ และประเมินผลการจัดโครงการ |
|
15 |
บทที่ 13 การประเมินผลโครงการ 13.1 ความรู้พื้นฐานและรูปแบบการประเมินผลโครงการ 13.2 การวิเคราะห์ผู้เข้ารับโครงการและการเลือกเนื้อหา 13.3 การประเมินกระบวนการและวิธีการดำเนินโครงการ 13.4 การประเมินความสำเร็จและติดตามผลโครงการ |
2 | 3 |
|
(1) พบนักศึกษาในห้องประชุม หรือลานกิจกรรม โดยนำเสนอการสรุปผลการดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทรัพยกรมนุษย์ของแต่ละกลุ่ม (2) จัดการถอดสรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนปัญหาการจัดโครงการฝึกอบรม (3) อาจารย์ตอบข้อซักถาม และทบทวนเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
รวมจำนวนชั่วโมง | 24 | 51 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบปลายภาค |
|
30 | ตามตาราง มข. 30 |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน |
|
5 | ตลอดภาคการศึกษา |
การค้นคว้าด้วยตนเอง และแบบฝึกหัด |
|
10 | ตลอดภาคการศึกษา |
การปฏิบัติการโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ |
|
25 | ตลอดภาคการศึกษา |
รายงานการวิจัยประเมินผลและการนำเสนอ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 10 - 15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
เอกสารประกอบการสอน | สำเริง จันทรสุวรรณ. (2552). การประเมินผลโครงการ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2549). การประเมินโครงการแนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | รัตนะ บัวสนธ์. (2540). การประเมินโครงการ การวิจัยเชิงประเมิน. กรุงเทพมหานคร : คอมแพคท์พริ้นท์. | ||
เอกสารประกอบการสอน | สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธุ์. (2541). การประเมินโครงการ หลักการและการประยุกต์. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมาน รังสิโยกฤษฎ์ และสุธี สุทธิสมบูรณ์. (2542). หลักการบริหารเบื้องต้น. กรงุเทพมหานคร: สวัสดิการ สำนักงาน ก.พ.. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมศักด์ิ ศรีสันติสุข. (2536). สังคมวิทยา:หลักการศึกษาวิเคราะห์และปฏิบัติงานชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานและปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมศาสตร์
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมสาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ