Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS703501
ภาษาไทย
Thai name
วรรณกรรมยุโรป
ภาษาอังกฤษ
English name
EUROPEAN LITERATURE
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    • Mrs. Malgorzata-Aneta Nseibeh
    • อาจารย์Maria Teresa Aranda Garrido Cuadrado
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนอธิบายความหมายของวรรณกรรมยุโรปได้
    • ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    ทักษะ
    Skills
    • ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ผู้เรียนตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    วิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันโดยสังเขป การอ่านงานวรรณกรรมภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Evolution of European literature from the Middle Ages to the present time in brief, reading selected literary works in French or German or Spanish
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - ความสำคัญของ "วรรณกรรม" ในฐานะศาสตร์ของมนุษย์
    - ความหมายของวรรณกรรม วรรณคดี วรรณคดียุโรป และวรรณกรรมตะวันตก
    - นักประพันธ์คนสำคัญของภูมิภาคยุโรป
    3
    • K1: ผู้เรียนอธิบายความหมายของวรรณกรรมยุโรปได้
    • C1: ผู้เรียนตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom
    แบ่งกลุ่มเพื่อเลือกงานวรรณกรรมคัดสรร จัดเตรียมการอ่านและวิเคราะห์ลักษณะวรรณกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างชีวิตผู้เขียนและงานวรรณกรรม ข้อคิดและประโยชน์ที่ได้จากวรรณกรรม
    2-3 วรรณกรรมยุโรปสมัยยุคกลาง
    - สภาพสังคม ความเปลี่ยนแปลงของภาษาและการสร้างสรรค์วรรณกรรม
    - ประเภทและชนิดวรรณกรรม ได้แก่ บทสรรเสริญ เพลงยาว บทกวี
    - แก่นในงานวรรณกรรม
    6
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S2: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C1: ผู้เรียนตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom
    4-5 วรรณกรรมยุโรปสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ
    - สภาพสังคม ความเปลี่ยนแปลงของภาษาและการสร้างสรรค์วรรณกรรม
    - ประเภทและชนิดวรรณกรรม ได้แก่ เรื่องเล่า นิทาน เรื่องสั้น นิยาย ความเรียง บทละคร บันทึกความทรงจำ
    - แก่นในงานวรรณกรรม
    6
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S2: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • C1: ผู้เรียนตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom
    6-8 วรรณกรรมยุโรปสมัยคลาสิค
    - สภาพสังคม การเมือง นโยบายด้านภาษาและการสร้างสรรค์วรรณกรรม
    - ประเภทและชนิดวรรณกรรม ได้แก่ บทละครโศกนาฏกรรมและสุขนาฏกรรม นิยาย บทกวี นิทานสอนใจ
    - แก่นในงานวรรณกรรม
    9
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S2: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • C3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom
    9-10 วรรณกรรมยุโรปสมัยเรืองปัญญา
    - สภาพสังคม การเมือง และการสร้างสรรค์วรรณกรรม
    - ประเภทและชนิดวรรณกรรม ได้แก่ ความเรียงเชิงปรัชญา สารานุกรม พจนานุกรม
    - แก่นในงานวรรณกรรม
    6
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S2: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S3: ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • C3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom
    11-12 วรรณกรรมยุโรปสมัยโรแมนติค
    - สภาพสังคม การเมือง และการสร้างสรรค์วรรณกรรม
    - ประเภทและชนิดวรรณกรรม ได้แก่ นิยาย เรื่องสั้น บทกวี
    - แก่นในงานวรรณกรรม
    6
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S3: ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • C3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom
    13-14 วรรณกรรมยุโรปสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
    - สภาพสังคม การเมือง และการสร้างสรรค์วรรณกรรม
    - ประเภทและชนิดวรรณกรรม ได้แก่ นิยาย นวนิยาย บทละคร เรื่องสั้น บทกวี
    - แก่นในงานวรรณกรรม
    6
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S3: ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • C3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    บรรยาย
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    ตอบคำถามในใบงาน
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทาง Google Classroom

    15 - นำเสนอการค้นคว้าเกี่ยวกับวรรณกรรมคัดสรรในรูปแบบสื่อดิจิทัล
    - ทบทวนรายวิชา
    3
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S3: ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • C2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • C3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    อภิปราย นำเสนอหน้าชั้น และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    ผู้เรียนทุกคนเขียนสรุปประเด็นนำเสนอและอภิปรายเพื่อเขียนสะะท้อนผลการเรียนรู้ จากนั้นส่งให้ผู้สอน
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การส่งใบงาน การแสดงความคิดเห็น
    • S3: ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • A1: ผู้เรียนตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
    • A2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • A3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    10 - ใบงานมีทั้งหมด 5 ใบ ใบละ 1 คะแนน
    - การแสดงความคิดเห็นต้องไม่ส่อเสียด ก้าวร้าว
    - การนำเสนอการค้นคว้ารื่อง กระแสวรรณกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ สมัยคลาสสิค สมัยเรืองปัญญา สมัยโรแมนติค และสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
    - การนำเสนอการค้นคว้าเรื่อง คุณลักษณะทางวรรณกรรมของงานประพันธ์ชิ้นเอกคัดสรร
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S3: ผู้เรียนใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • A2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    • A3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    40 การนำเสนอการค้นคว้าเรื่อง คุณลักษณะทางวรรณกรรมของงานประพันธ์ชิ้นเอกคัดสรร ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มและติดต่อผู้สอนเพื่อเลือกวรรณกรรม 1 เรื่องเพื่อนำไปอ่านและวิเคราะห์คุณค่า ให้นำเสนองานในสัปดาห์ที่ 15
    อ่านฟังเสียงตัวบทวรรณกรรมคัดสรร (งานร้อยแก้ว 1 + งานร้อยกรอง 1)
    งานเดี่ยว
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • A3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    10 ให้ผู้เรียนส่งคลิปเสียงระหว่างสัปดาห์ที่ 8และ 9
    ทดสอบย่อย
    • K1: ผู้เรียนอธิบายความหมายของวรรณกรรมยุโรปได้
    • K2: ผู้เรียนระบุวิวัฒนาการวรรณกรรมยุโรปในแต่ละยุคนับตั้งแต่ยุคกลางจนถึงปัจจุบันได้โดยสังเขป
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • A3: ผู้เรียนยอมรับความเห็นของผู้อื่นแม้จะแตกต่างจากวัฒนธรรมพื้นฐานของตน
    20
    สอบปลายภาค
    • K3: ผู้เรียนจำแนกประเภทและลักษณะของวรรณกรรมในยุโรปได้
    • S1: ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ ตีความและบอกสาระที่ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อได้จากการอ่านตัวบทคัดสรร
    • S2: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: มีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส
    • A2: ผู้เรียนอ้างอิงที่มาของเนื้อความ บทคัดสรร และ/หรือแนวคิดที่ปรากฎอยู่ในผลงานค้นคว้าของผู้เรียน
    20 การจัดสอบเป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา ชัตสุณี สินธุสิงห์, บรรณาธิการ. (2550). วรรณคดีทัศนา. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา เจตนา นาควัชระ. (2542). กวีนิพนธ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย: ประสบการณ์จากวรรณคดีไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ทัศนีย์ นาควัชระ, บรรณาธิการ. (2537). วรรณกรรมเอกยุโรปยุคกลาง. กรุงเทพมหานคร : โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา ทัศนีย์ นาควัชระ, บรรณาธิการ. (2539). วรรณกรรมเอกยุโรปยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Ferroudja Allouache, Nicole Blondeau, Marie-Françoise Né. (2019). Littérature progressive du français - Niveau débutant (A1/A2). Paris : CLE International- SEJER. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Nicole Blondeau, Marie-Françoise Né. (2019). Littérature progressive du français - Niveau intermédiaire (B1/B2). Paris : CLE International-SEJER. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Martin Travers. (1997). An Introduction to Modern European Literature :
    from Romanticism to Postmodernism. Red Globe Press.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Rodney T. Rodriguez. (2012). Reflexiones : Introducción a la literatura hispánica. Pearson : Illustrated Edition. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Juan Carlos Rodríguez , Álvaro Salvador. (1987). Introducción al estudio de la literatura hispanoamericana. Granada : Universidad de Granada. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้ ดังนี้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ