Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
Social Development
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2566
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS432402
ภาษาไทย
Thai name
การพัฒนาเปรียบเทียบในจีนและไต้หวัน
ภาษาอังกฤษ
English name
Comparative Development of Mainland China and Taiwan
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์ธรรม์ธเนศ ปุณณ์ธนามหาการุณ
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์ธรรม์ธเนศ ปุณณ์ธนามหาการุณ
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    • นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาเปรียบเทียบ ปรัชญาการเมือง อุดมการณ์รัฐ พัฒนาการทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของจีนและไต้หวัน
    ภาษาอังกฤษ
    English
    A comprehensive introduction to the comparative development, the political thoughts, the political ideology, the development of politics, economy, society, culture, and environment as well as China's and Taiwan’s developmental strategies
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Seminar
    • Discussion-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 1. Class Orientation
    1.1 Introduction to Comparative Development
    1.2 Introduction to Mainland China and Taiwan
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 อธิบายประมวลรายวิชา แนะนำการเรียนการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้และรูปแบบการประเมินผล
    1.2 บรรยาย
    1.3 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.4 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    2 2. States and State Formation
    2.1 The Collapse of the Imperial Chinese System
    2.2 The Chinese Revolution of 1911
    2.3 The Nation-State of China
    2.4 The Nation-State of Taiwan
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    3 3. Authoritarian Regimes and Democratic Breakdown
    3.1 The Rise of the Communist Party of China (CPC)
    3.2 The Decline of the Kuomintang (KMT)
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    4 4. Democracy and Democratization
    4.1 Democratization in China
    4.2 Democracy in Taiwan
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    5 5. Revolutions and Social Movements
    5.1 Revolutions and Social Movements in China from Mao to Xi
    5.1 Revolutions and Social Movements in Taiwan from Chiang to Tsai
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    6 6. Economic Development
    6.1 Economic Development in China from Mao to Xi
    6.2 Economic Development in Taiwan from Chiang to Tsai
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    7 7. Poverty and Inequality
    7.1 Poverty and Inequality in China
    7.2 Poverty and Inequality in Taiwan
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    8 8. Nationalism and National Identity
    8.1 Nationalism and National Identity in China
    8.2 Nationalism and National Identity in Taiwan
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
    • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
    • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
    • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
    1. กิจกรรมการเรียนการสอน
    1.1 บรรยาย
    1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
    1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
    2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
    2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
    2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
    2.3 YouTube
    3. ช่องทางการเรียนการสอน
    3.1 ในห้องเรียน
    3.2 Google Classroom
    9 University Mid-Term Exam Week
    - No Class
      University Mid-Term Exam Week
      - No Class
      10 10. Ideology and Religion
      10.1 Development of Ideology and Religion in China
      10.2 Development of Ideology and Religion in Taiwan

      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      11 11. Political Culture
      11.1 Political Culture in China
      11.2 Political Culture in Taiwan

      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      12 12. Political Parties and Party Systems
      12.1 Political Parties and Party Systems in China
      12.2 Political Parties and Party Systems in Taiwan


      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      13 13. Welfare State
      13.1 Welfare in China
      13.2 Welfare in Taiwan
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      14 14. Environment and Climate Change
      14.1 Environment and Climate Change in China
      14.2 Environment and Climate Change in Taiwan
      3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      15 Paper Presentation (I) 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      16 Paper Presentation (II) 3
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีความเป็นผู้นำ ใฝ่เรียนรู้ มีเหตุมีผล รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      1. กิจกรรมการเรียนการสอน
      1.1 บรรยาย
      1.2 ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา
      1.3 ดูคลิปหรือยูทูป และอภิปรายแลกเปลี่ยนความเห็น
      2. สื่อ/เอกสารประกอบการสอน
      2.1 หนังสือ ตำราและบทความที่เกี่ยวข้อง
      2.2 ชุดสไลด์จากโปรแกรม PowerPoint
      2.3 YouTube
      3. ช่องทางการเรียนการสอน
      3.1 ในห้องเรียน
      3.2 Google Classroom
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      งานเดี่ยว
      - การสรุปองค์ความรู้และวิเคราะห์เนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      10
      งานเดี่ยว
      - การสรุปเนื้อหาและวิเคราะห์บทความที่กำหนด
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
      20
      งานกลุ่ม
      - การนำเสนอบทความที่ได้รับมอบหมาย
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      • A3: นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
      10
      งานเดี่ยว
      – การนำเสนอรายงานวิจัย
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S4: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      10
      งานเดี่ยว
      – รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      25
      สอบปลายภาค
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องพื้นฐานและบริบทภูมิหลังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจีนและไต้หวันทั้งในบริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • K3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตาม วิเคราะห์ และอภิปรายสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องในบริบทด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวันได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยสามารถใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
      • S2: นักศึกษามีทักษะการคิด วิเคราะห์ อภิปรายและยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนาของจีนและไต้หวันภายใต้บริบทการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนา
      • S5: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      • S6: นักศึกษามีทักษะภาษาอังกฤษเบื้องต้นในกรอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการพัฒนาของจีนและไต้หวัน
      • E1: นักศึกษามีจรรยาบรรณทางวิชาการ
      • A2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างของแต่ละสังคมทั้งในระดับประเทศและนานาประเทศ
      25 ตามปฏิทินมหาวิทยาลัย
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา William A. Joseph (ed.), Politics in China: An Introduction, 3 ed. New York: Oxford University Press, 2019. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Allen Carlson et al. (eds). Contemporary Chinese Politics: New Sources, Methods, and Field Strategies. New York: Cambridge University Press, 2010. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา John King Fairbank and Merle Goldman. China: A New History, Second Enlarged Edition. Cambridge, MA: Harvard University Press, 2006. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Karyn L. Lai. An Introduction to Chinese Philosophy. 2nd ed., Cambridge: Cambridge University Press, 2017. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Rhys Jenkins. How China is Reshaping the Global Economy. Oxford: Oxford University Press, 2018. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Benjamin I. Schwartz. The World of Thought in Ancient China. Cambridge, MA: The Belknap Press, 1985. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Chow Tse-tsung, The May Fourth Movement. Cambridge, MA: Harvard University Press, 1960. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Fairbank, John K., The Great Chinese Revolution 1800-1985. New York: Harper & Row, 1986. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Vera Schwarcz, The Chinese Enlightenment: Intellectuals and the Legacy of the May Fourth Movement of 1919. Berkeley, Los Angeles and London: University of California Press, 1986. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Joseph Fewsmith, Party, State and Local Elites in Republican China: Merchant Organizations and Politics in Shanghai, 1890–1930. Honolulu: University of Hawaii Press, 1985. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Tien Hung-mao, Government and Politics in Kuomintang China. Stanford, CA: Stanford University Press, 1972. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Zhiyue Bo, China's Elite Politics: Governance and Democratization. Singapore: World Scientific, 2010.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Zhiyue Bo, China's political dynamics under Xi Jinping. Singapore: World Scientific Publishing, 2017. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Christopher Ogden (ed.), Handbook of China's Governance and Domestic Politics. Milton Park, Abingdon, Oxon ; New York : Routledge; 2013. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Michael Szonyi, The Art of Being Governed: Everyday Politics in late Imperial China. Princeton, New Jersey: Princeton University Press 2017.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Shyu-tu Lee and Jack F. Williams, Taiwan's Struggle: Voices of the Taiwanese. Lanham, Maryland: Rowman & Littlefield, 2014.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Hans Stockton and Yao-Yuan Yeh, Taiwan: the Development of an Asian Tiger. Boulder, Colorado: Lynne Rienner Publishers, 2020.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Philip Paolino and James Meernik, Democratization in Taiwan: Challenges in Transformation. Hampshire, England: Ashgate, 2008.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Bruce Gilley and Larry Diamond, Political change in China: Comparisons with Taiwan. Boulder, CO: Lynne Rienner Publishers, 2008.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Wei-Chin Lee (ed.), Taiwan's Politics in the 21st Century Changes and Challenges. Singapore: World Scientific, 2010.

      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Stevan Harrell and Huang Chun-chieh (eds.), Cultural Change In Postwar Taiwan. London: Routledge, 2020.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Chun-chieh Huang. Taiwan in Transformation 1895-2005: The Challenge of a New Democracy to an Old Civilization. New York: Routledge, 2006 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Chun-Chieh Huang, Postwar Taiwan in Historical Perspective Paperback. (eds.) Chun-Kit Joseph Wong and Feng-Fu Tsao. College Park, MD: University Press Of Maryland, 1998. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Bi-yu Chang, Place, Identity, and National Imagination in Post-war Taiwan. New York, NY: Routledge, 2015. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Dafydd Fell. Party Politics in Taiwan: Party Change and the Democratic Evolution of Taiwan, 1991-2004. Florence: Taylor & Francis Group, 2005. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Mikael Mattlin. Politicized Society: Taiwan's Struggle with its One-Party Past. revised updated ed.,
      Copenhagen, Denmark: NIAS Press, 2018.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Su Beng, Taiwan's 400 Year History. New Taipei City, Taiwan: Su Beng, 2017.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Murray A. Rubinstein (ed.), Taiwan: A New History. Armonk, NY: M.E. Sharpe, 1999. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Steve Tsang (ed.), The Vitality of Taiwan Politics, Economics, Society and Culture. London: Palgrave Macmillan, 2012.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา John J. Metzler, Taiwan's Transformation: 1895 to the Preseny. New York: Palgrave Macmillan, 2017.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Steven M. Goldstein, China and Taiwan. Malden, MA: Polity Press, 2015.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Benjamin Schreer and Andrew T.H. Tan (eds.), The Taiwan Issue: Problems and Prospects. New York: Routledge, 2020. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา John Franklin Copper, Taiwan: Nation-State or Province? Boulder, CO.: Westview Press, 2013. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Jonathan Manthorpe, Forbidden Nation: A History of Taiwan, New York: Palgrave Macmillan, 2009. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา George H. Kerr, Formosa Betrayed. Manchester, UK: Camphor Press, 2017. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา A-Chin Hsiau, Politics and Cultural Nativism in 1970s Taiwan: Youth, Narrative, Nationalism. New York: Columbia University Press, 2021. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Ryan Dunch and Ashley Esarey (eds.), Taiwan in Dynamic Transition: Nation Building and Democratization. Seattle: University of Washington Press, 2020.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Alvin Y. So and Sai-Hsin May, Democratization in East Asia in the late 1980s: Taiwan breakthrough, Hong Kong frustration, Studies In Comparative International Development Vol. 28 (1993): 61–80. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Jay Ulfelder, "Contentious Collective Action and the Breakdown of Authoritarian Regimes," International Political Science Review, Vol 26, No. 3 (2005): 311–334.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Dachi Liao, Hsin-Che Wu, and Boyu Chen, "Social Movements in Taiwan and Hong Kong: The Logic of Communitive Action," Asian Survey 60, No. 2 (2020): 265–289. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Chu-Yuan Cheng, "Economic Development in Taiwan and Mainland China: A Comparison of Strategies and Performance," Asian Affairs: An American Review Vol. 10, No. 1 (Spring 1983): 60-86. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Cal Clark, "Economic Development in Taiwan: A Model of a Political Economy,"Journal of Asian and African Studies 22, No. 1-2 (1987): 1-16.

      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Yao-Tai Li, "Taiwan and the WHO: negotiating the deconstruction of racialized discourse during the COVID-19 pandemic," International Affairs Vol. 99, No.1 (January 2023): 321–336. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Jennifer Lind, "Democratization and Stability in East Asia, International Studies Quarterly, Vol. 55, Issue 2 (June 2011): 409–436. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Chih-yu Shih and Chiung-chiu Huang, "China’s Quest for Grand Strategy: Power, National Interest, or Relational Security?," The Chinese Journal of International Politics Vol. 8, No. 1 (Spring 2015): 1–26. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Barry Buzan, "The Logic and Contradictions of ‘Peaceful Rise/Development’ as China’s Grand Strategy," The Chinese Journal of International Politics Vol. 7, No. 4 (Winter 2014): 381–420. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Uris L C Baldos, Thomas W Hertel, and Frances C Moore, "Understanding the Spatial Distribution of Welfare Impacts of Global Warming on Agriculture and Its Drivers," American Journal of Agricultural Economics Vol. 101, No. 5 (October 2019): 1455–1472. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ka Zeng and Josh Eastin, "International Economic Integration and Environmental Protection: The Case of China," International Studies Quarterly Vol. 51, No. 4 (December 2007): 971–995. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Wai-Hang Yee, Shui-Yan Tang, and Carlos Wing-Hung Lo, "Regulatory Compliance when the Rule of Law Is Weak: Evidence from China’s Environmental Reform," Journal of Public Administration Research and Theory Vol. 26, No. 1 (January 2016): 95–112. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Shih-Jiunn Shi, "Shifting Dynamics of the Welfare Politics in Taiwan: from Income Maintenance to Labour Protection," Journal of Asian Public Policy 5, no. 1 (2012): 82-96. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4

      รายละเอียดมาตรฐานผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

      1. ด้านความรู้
      1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และทฤษฎีสำคัญสำหรับการพัฒนาสังคมในขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ของหลักสูตร
      1.2 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาพัฒนาสังคม รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางพัฒนาสังคม
      1.3 สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้

      2. ด้านทักษะ
      2.1 สามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าในศาสตร์ รู้วิธีแก้ปัญหา และต่อยอด
      องค์ความรู้ได้
      2.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาอย่างเหมาะสม
      2.3 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทางวิชาการและการทำงาน
      2.4 มีความฉลาดทางอารมณ์ บริหารจัดการภายใต้ความกดดันทางสังคม

      3. ด้านจริยธรรม
      3.1 ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      3.2 มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา และเคารพกติกาของสังคม
      3.3 ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      3.4 รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      3.5 มีจิตสาธารณะและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติในระบอบประชาธิปไตย

      4. ด้านลักษณะบุคคล
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม และมีจิตใจในการให้บริการที่ดี

      5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีทักษะกระบวนการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิติในระดับพื้นฐาน ในการแสวงหาความรู้เพื่อการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
      5.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      5.3 ใช้ภาษาไทยได้ดีทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและให้เหมาะสมกับสถานการณ์
      5.4 มีความสามารถในการใช้เครื่องมือที่หลากหลายและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้อย่างเหมาะสม