รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา วิธีการการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล - กิจกรรม Warm-up |
3 |
|
1. บรรยายแนะนำแนวทางการเรียนการสอน 2. แนะนำเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ที่จะใช้ในวิชา 3. กิจกรรมตอบคำถาม 4. การแสดงความคิดเห็นและ Brainstorm 5. แบบฝึกหัดก่อนเรียน หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
2-5 |
หัวข้อที่ 1 หลักการแปล ทฤษฎีการแปลและข้อปฎิบัติการแปล (เรียนรวมทั้งสามวิชาเอก) 1.1 องค์ประกอบเกี่ยวกับการแปล 1.2 นิยามและแนวคิดเกี่ยวกับการแปล 1.3 ความเทียบเท่าในการแปล 1.4 ขั้นตอนในการแปล 1.5 ชนิดของการแปล 1.6 เทคนิคการแปล 1.7 วัฒนธรรมและสังคมที่มีผลต่อการแปล 1.8 ตัวบทการแปล 1.9 จรรยาบรรณนักแปล |
12 |
|
1. การบรรยาย 2. การทำกิจกรรมกลุ่ม 3. การอภิปรายกลุ่มย่อย 4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม 5. วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล 6. ฝึกปฎิบัติแปล 7. แบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียน หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
6-8 |
หัวข้อที่ 2 การแปลภาษานิตยสารภาษาฝรั่งเศส, สเปน, เยอรมันเป็นภาษาไทย (สัปดาห์ที่ 6-15 แยกเรียนแต่ละภาษา) 2.1 แปลข้อความจากบทความในนิตยสารระดับประโยคและย่อหน้า 2.2 ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างระหว่างภาษาต้นฉบับและภาษาแปล 2.3 ลักษณะภาษาของนิตยสาร 2.4 ปัญหาและสิ่งพึงระวังในการแปลภาษานิตยสาร 2.5 เทคนิคเพิ่มเติมในการแปลภาษานิตยสาร |
9 |
|
1. การบรรยาย 2. การทำกิจกรรมกลุ่ม 3. การอภิปรายกลุ่มย่อย 4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม 5. วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล 6. ฝึกปฎิบัติแปล 7. มอบหมายค้นคว้า หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
9-11 |
หัวข้อที่ 3 การแปลภาษาหนังสือพิมพ์ภาษาฝรั่งเศส, สเปน, เยอรมันเป็นภาษาไทย 3.1 แปลข้อความจากหนังสือพิมพ์ระดับประโยคและย่อหน้า 3.2 ลักษณะสำคัญของภาษาในหนังสือพิมพ์ 3.3 การตีความการใช้ภาษาและการเลือกใช้คำในภาษาแปล 3.4 ปัญหาและสิ่งพึงระวังในการแปลภาษาหนังสือพิมพ์ 3.5 เทคนิคเฉพาะในการแปลภาษาหนังสือพิมพ์ |
9 |
|
1. การบรรยาย 2. การทำกิจกรรมกลุ่ม 3. การอภิปรายกลุ่มย่อย 4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม 5. วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล 6. ฝึกปฎิบัติแปล 7. มอบหมายค้นคว้า หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
12-14 |
หัวข้อที่ 4 การแปลภาษาวรรณกรมฝรั่งเศส, สเปน, เยอรมันเป็นภาษาไทย 4.1 แปลข้อความจากวรรณเรื่องเอกของแต่ละภาษาในระดับประโยคและย่อหน้า 4.2 ลักษณะของภาษาวรรณกรรม 4.3 การตีความการใช้ภาษาและการเลือกใช้คำในภาษาแปล 4.4 ปัญหาและสิ่งพึงระวังในการแปลภาษาวรรณกรรม 4.5 เทคนิคเฉพาะในการแปลภาษาวรรณกรรม 4.6 การเทียบเคียงประเด็นทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ที่ปรากฎในภาษาวรรณกรรม |
9 |
|
1. การบรรยาย 2. การทำกิจกรรมกลุ่ม 3. การอภิปรายกลุ่มย่อย 4. การนำเสนอระหว่างกลุ่ม 5. วิเคราะห์ตัวอย่างงานแปล 6. ฝึกปฎิบัติแปล 7. มอบหมายค้นคว้า หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ YouTube ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
15 | ทบทวน สรุป อภิปรายเนื้อหาการเรียนการสอน และการนำเสนอผลงาน | 3 |
|
1. ประชุมกลุ่มย่อยและนำเสนอ 2. ซักถาม อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3. แบบฝึกหัดหลังเรียน หนังสือ หรือ ตำรา หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet Google Classroom |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
ทดสอบย่อย |
|
25 | |
รูปเล่มโครงงานแปลกลุ่ม |
|
25 | |
สอบปลายภาค |
|
25 | |
การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน |
|
10 | |
การนำเสนอชิ้นงานแปลระหว่างภาคเรียน |
|
15 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
เอกสารประกอบการสอน | ชัชวาล ศรีทอง, ทิพย์ลดา อินทำและสิริวรรณ เปรมจิตปิยะพันธ์.(2562) เอกสารประกอบการสอนการแปลภาษาตะวันตกเป็นภาษาไทย. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (เอกสารอัดสำเนา) | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา |
ตำราเสริม - รัชนีโรจน์ กุลธำรง. (2552). ความรู้ความเข้าใจเรื่องภาษาเพื่อการแปลจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. Understanding Language to Translate: from theories to practice. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วรรณา แสงอร่ามเรือง. (2542). ทฤษฎีและหลักการแปล. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วิษณุ กอปรสิริพัฒน์. (2548). การแปลตามหลักภาษาศาสตร์. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - สัญฉวี สายบัว. (2553). หลักการแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - สุพรรณี ปิ่นมณี (2554).การแปลขั้นสูง.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Hurtado Albir, A. 2013 (2001). Traducción y traductología. Introducción a la traductología. Madrid: Ediciones Cátedra. - Munday, J. 2008 (2001). Introducing Translation Studies.London and New York: Rutledge. - Nord, C. 1997. Translating as a Purposeful Activity. Functionalist Approaches Explained. Manchester: St. Jerome Publishing. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ