Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันออก
Eastern Languages
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS303806
ภาษาไทย
Thai name
สัมมนาทางภาษาตะวันออก
ภาษาอังกฤษ
English name
Seminar in East Asia Languages
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์วัชรพล ศิริสุวิไล
    • อาจารย์รัชนี ปิยะธำรงชัย
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญญาทิพย์ ศุภะกะลิน
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญญาทิพย์ ศุภะกะลิน
    • อาจารย์อรอนงค์ อินสอาด
    • อาจารย์วัชรพล ศิริสุวิไล
    • อาจารย์ณัฐนันท์ ติยานนท์
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีการอ้างอิงเนื้อหาตามเนื้อหาในบทความหรืองานวิจัยได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
    ทักษะ
    Skills
    • สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และแก้ปัญหาทางวิชาการได้ อย่างสร้างสรรค์
    • สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    การค้นคว้า การวิเคราะห์ การอภิปราย และการเขียนในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับภาษา สังคม และวัฒนธรรม
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Searching, analysis, discussing and writing in topics about language, society and culture
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Work integrated learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Seminar
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 แนะนำรายวิชา
    ชี้แจงการวัดและประเมินผลในรายวิชา
    แนะนำช่องทางและเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้างานวิจัยหรือบทความ
    3
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • C1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1.ทำความรู้จักเบื้องต้นระหว่างผู้เรียนและผู้สอน อธิบายเนื้อหาการเรียนการสอนและการวัดผล
    2. แนะนำการเรียนผ่านช่องทางออนไลน์และเครื่องมือต่างๆ ที่นักศึกษาจำเป็นต้องใช้ในการค้นคว้าหาข้อมูลระหว่างเรียนตลอดภาคการศึกษา
    3. ทดความความรู้พื้นฐานก่อนเรียนในรายวิชา ผ่านแบบสำรวจ โดย Google form
    2 บรรยายเกี่ยวกับการตั้งโจทย์/คำถาม 3
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • C1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. สำรวจความสนใจในเรื่องต่างๆ ของนักศึกษาผ่านแบบสำรวจ โดย Google form
    2. บรรยายรูปแบบในการสัมมนา แนวทางในการหาประเด็นหรือหัวข้อ เพื่อนำมาเป็นโจทย์และหัวข้อในการสัมมนา ตัวอย่างงานสัมมนาต่างๆ และแนวทางในการพัฒนาหัวข้อ อภิปรายในประเด็นที่เกี่ยวข้อง พร้อมตอบข้อซักถามของนักศึกษาผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์
    3. แบ่งกลุ่มเสวนาของนักศึกษาที่สนใจประเด็นหรือหัวข้อคล้ายกันหรือจัดอยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน
    เพื่อเตรียมความพร้อมในการเตรียมหัวข้อสัมมนาของแต่ละกลุ่ม.
    3-4 การสืบค้นข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 6
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และแก้ปัญหาทางวิชาการได้ อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • C1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. บรรยายแนะนำฐานข้อมูลที่ใช้สืบค้นข้อมูลทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ (ฐานข้อมูลไทย จีน ญี่ปุ่น) และการเข้าถึงแหล่งข้อมูลและการค้นคว้าข้อมูลให้ตรงประเด็นที่ศึกษา
    2. อภิปราย ตอบคำถามและให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์
    3. แบ่งกลุ่มทำงาน และนำเสนอผลการอภิปรายกลุ่ม
    5 เทคนิคการอ่านบทความและงานวิจัย 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และแก้ปัญหาทางวิชาการได้ อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    1. บรรยายความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับบทความและงานวิจัยต่างๆ เทคนิคการอ่าน การจับประเด็นหรือคัดแยกระหว่างข้อมูลและข้อคิดเห็นในประเด็นต่างๆ พร้อมยกตัวอย่าง รวมทั้งการแยกประเภทของบทความ ผ่านคลิปวิดีโอบรรยาย ผ่านช่องทาง KKU-ELearning
    2. อภิปราย ตอบคำถามและให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ MS Team
    3. ฝึกหัดและทดสอบโดยแบบฝึกหัดและแบบทดสอบผ่าน Google form
    4. มอบหมายงานโดยให้ส่งผลงานผ่านช่องทาง KKU-ELearning หรือ Google Classroom.
    6-7 การคัดกรองหัวข้อสัมมนา 6
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • C1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    นักศึกษาแบ่งกลุ่มนำเสนอโจทย์ หัวข้อที่จะศึกษาของแต่ละกลุ่ม และนำเสนอผลการอภิปรายของแต่ละกลุ่ม ตอบคำถามประเด็นต่างๆ อาจารย์ให้คำปรึกษาและเสนอแนวทางในการแก้ไขเนื้อหาให้กระชับยิ่งขึ้น
    8 เทคนิคและรูปแบบการเขียนที่มาและความสำคัญ 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. บรรยายเนื้อหา โครงสร้าง เทคนิคและวิธีการเขียนที่มาและความสำคัญ
    2.นักศึกษาพัฒนางานภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาของแต่ละกลุ่ม ผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์
    3. นักศึกษานำเสนอความก้าวหน้าของงาน และรับฟังข้อคิดเห็นจากอาจารย์และเพื่อนในห้องที่ร่วมฟังการนำเสนอ
    9 การเขียนบททบทวนวรรณกรรม การอ้างอิง และการเขียนบรรณานุกรม 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และแก้ปัญหาทางวิชาการได้ อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • E1: มีการอ้างอิงเนื้อหาตามเนื้อหาในบทความหรืองานวิจัยได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
    • C1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. บรรยายเนื้อหา รูปแบบ เทคนิคและวิธีการเขียนและอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ อย่างถูกต้อง รวมถึงการเขียนบรรณานุกรม
    2. ระดมความคิดในการเขียนทบทวนวรรณกรรมเป็นกลุ่ม และนำเสนอในห้องเพื่อรับฟังความคิดเห็นของอาจารย์และเพื่อนที่ร่วมฟัง
    3.นักศึกษาปรับแก้และพัฒนาการเขียนทบทวนวรรณกรรม
    10 การวิพากษ์งานเชิงสร้างสรรค์ 3
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. บรรยายและอธิบายเนื้อหา รูปแบบ เทคนิคและวิธีในการวิพากษ์วิจารย์งานเชิงสร้างสรรค์
    2.นักศึกษาแต่ละกลุ่มฝึกทดลองวิพากษ์งาน พร้อมนำเสนอในชั้นเรียน อภิปราย และสะท้อนผลโดยอาจารย์ผู้สอน ผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์
    11-13 การเขียนรายงานสัมมนา 9
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และแก้ปัญหาทางวิชาการได้ อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • E1: มีการอ้างอิงเนื้อหาตามเนื้อหาในบทความหรืองานวิจัยได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
    • C1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • C2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. นักศึกษาทำงานกลุ่มตามหัวข้อที่รับผิดชอบภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา
    2. นักศึกษารายงานความก้าวหน้าพร้อมอภิปรายงานตามหัวข้อตามที่อาจารย์กำหนด ในชั้นเรียนผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์
    14-15 การนำเสนอรายงานการสัมมนา 6
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • E1: มีการอ้างอิงเนื้อหาตามเนื้อหาในบทความหรืองานวิจัยได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
    • C2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • C3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    1. นักศึกษานำเสนอรายงานสัมมนา พร้อมฟังข้อคิดเห็นจากอาจารย์ ผ่านช่องทางการสอนในห้องเรียน หรือ ออนไลน์
    2. ศึกษานำข้อคิดเห็นดังกล่าวไปปรับแก้ และส่งฉบับสมบูรณ์
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    รายงานการสัมมนาและการนำเสนอผลงาน
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S1: สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และแก้ปัญหาทางวิชาการได้ อย่างสร้างสรรค์
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • A1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • A2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • A3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    40
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • S2: สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการพัฒนาองค์ความรู้ได้
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • A1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • A2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • A3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    20
    ความก้าวหน้าในการทำชิ้นงานในแต่ละครั้ง
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • A1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • A2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • A3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    30
    การนำเสนอเนื้อหาก่อนการสัมมนาจริง
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    • K3: มีความรู้ความเข้าใจบริบทต่างๆ ในภาษาตะวันออก เช่น ประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • S3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    • A1: มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    • A2: สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    • A3: มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา ทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    10
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Ishigu Rokei. (2012). Kono 1satsu de kichinto kakeru ! Ronbun-repouto no kihon. Tokyo : Nihonjitsugyou
    shuppansha
    หนังสือ หรือ ตำรา Nitsuu Nobuko, Satou Fujiko. (2000).Kaitei Ryuugakusei no tame no ronriteki na bunshou no kakikata. Tokyo : 3a network
    หนังสือ หรือ ตำรา Nitsuu Nobuko. (2009). Ryuugakusei to nihonjingakusei no tameno repouto-Ronbun hyougen handbook. Tokyo : Tokyodaigaku shuppan kai
    หนังสือ หรือ ตำรา Tomomatsu Etsuko, Hirao Tokuko, Yui kikuko. (1998). Shouronbun eno 12no suteppu. Tokyo : 3a network
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. คุณธรรมและจริยธรรม
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่น อย่างสม่ำเสมอ
    2. ความรู้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาตะวันออก
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาตะวันออกสามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพ ในสถานการณ์ต่างๆได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา และการ ต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจในทักษะภาษาตะวันออก ประวัติศาสตร์ศิลปะ และวัฒนธรรม
    3. ทักษะทางปัญญา
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
    4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชา / วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
    5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขา วิชาการได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ