รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- สังเขปรายวิชา - ความหมายและความสำคัญของการวิจัย |
3 |
|
- ชี้แจงจุดประสงค์รายวิชา ทำข้อตกลงและนัดหมายกับผู้เรียนเรื่องงานวิจัยที่ต้องดำเนินการ ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มีองค์ประกอบครบและมีจำนวนหน้า 30 หน้าโดยประมาณ / KKU E-learning และ Google Classroom - แบ่งกลุ่มค้นคว้า นำเสนอและอภิปรายเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของการวิจัย/ KKU E-learning และ Google Classroom |
|
2-4 | - องค์ประกอบการวิจัย :ปัญหาและความเป็นมาของปัญหา, วัตถุประสงค์ของการวิจัย, สมมติฐานการวิจัย,ขอบเขตการวิจัย,วิธีดำเนินการวิจัย, ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ,เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง, การเรียบเรียงเนื้อเนื้อหาและการใช้ภาษาในงานวิจัย, บรรณานุกรมและการอ้างอิง | 9 |
|
- ชี้แจงจุดประสงค์รายวิชา ทำข้อตกลงและนัดหมายกับผู้เรียนเรื่องงานวิจัยที่ต้องดำเนินการ ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มีองค์ประกอบครบและมีจำนวนหน้า 30 หน้าโดยประมาณ / KKU E-learning และ Google Classroom - เรียนรู้องค์ประกอบการวิจัยโดยผู้เรียนแบ่งกลุ่มเพื่อเลือกเล่มงานวิจัยคัดสรรฉบับอิเลคทรอนิกส์ แบ่งเป็นการวิจัยทางภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ประยุกต์ การสอนภาษา วรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ วัฒนธรรมศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา/ KKU E-learning และ Google Classroom - สรุปหัวข้อหรือประเด็นสำคัญๆในองค์ประกอบการวิจัยที่กลุ่มผู้เรียนเลือก บอกสาระสำคัญที่ต้องกล่าวถึงในแต่ละหัวข้อ บอกความเหมือนและความต่างขององค์ประกอบการตัวเล่มวิจัยในประเทศไทยกับในประเทศตะวันตก วิเคราะห์ภาษาที่ใช้ในงานวิชาการแต่ละประเภท สรุปรูปแบบการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงของงานวิจัยแต่ละสาขา/ KKU E-learning และ Google Classroom - ฝึกเขียนเค้าโครงวิจัยและนำเสนอเป็นกลุ่ม ผู้เรียนกลุ่มอื่นซักถามและอภิปรายประเด็นที่สงสัย / KKU E-learning และ Google Classroom |
|
5-6 | - ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาทั้งการวิจัยเอกสารและการวิจัยภาคสนาม | 6 |
|
- แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยภาษาไทยและภาษาตะวันตกเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและทฤษฎีสำคัญเกี่ยวกับการวิจัยภาษาศาสตร์เชิงประวัติ ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ ภาษาศาสตร์สังคม ภาษาศาสตร์จิตวิทยา ภาษาศาสตร์กับการสอนภาษา และตอบคำถามจากใบงานโดยมีผู้สอนเป็นผู้ช่วยแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom - นำเสนอข้อแตกต่างและข้อควรระวังในการวิจัยเอกสารกับการวิจัยภาคสนาม |
|
7-8 | - ระเบียบวิธีวิจัยทางวรรณคดี วรรณคดีเปรียบเทียบ | 6 |
|
- แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยภาษาไทยและภาษาตะวันตกเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและทฤษฎีสำคัญเกี่ยวกับการวิจัยวรรณดีเชิงประวัติ วรรณคดีเปรียบเทียบ วรรณคดีแนวจิตวิเคราะห์ วรรณคดีเชิงสังคม วรรณคดีฉบับวิจารณ์ และตอบคำถามจากใบงานโดยมีผู้สอนเป็นผู้ช่วยแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom - นำเสนอขอบเขตและข้อแตกต่างในการวิจัยวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ |
|
9-10 | - ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษากับวัฒนธรรมศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา | 6 |
|
- แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยภาษาไทยและภาษาตะวันตกเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและทฤษฎีสำคัญเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของภาษา สังคม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม นิเวศวัฒนธรรม การแพร่พระจายของวัฒนธรรม / KKU E-learning และ Google Classroom - นำเสนอขอบเขตและข้อควรระวังในการวิจัยภาษากับวัฒนธรรมศึกษาและอาณาบริเวณศึกษา |
|
11-14 | - การรายงานความก้าวหน้างานวิจัย | 12 |
|
- นำเสนอความก้าวหน้าของงานวิจัย : ความสำคัญของงานวิจัย คำถามงานวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย อุปสรรคและปัญหาระหว่างการทำวิจัย การแก้ไขปัญหาระหว่างการดำเนินงานวิจัย - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามและอภิปรายประเด็นที่น่าสนใจหรือสงสัยในระหว่างผู้เรียน โดยมีผู้สอนคอยให้คำแนะนำ |
|
15 |
- นำเสนอผลงานวิจัย - สรุปผลการเรียนรู้ |
3 |
|
- นำเสนอผลงานวิจัยแบบปากเปล่าต่อหน้าที่ประชุมทั้งแบบปกติและแบบระยะไกล กลุ่มละ 15 นาที - ซักถามและอภิปรายประเด็นที่สนใจหรือสงสัยโดยผู้เรียนคนอื่นๆ / KKU E-learning และ Google Classroom - ผู้สอนให้ข้อเสนอแนะในการนำงานวิจัยที่นำเสนอไปต่อยอดเพื่อพัฒนา - ผู้เรียนให้ข้อเสนอแนะสำหรับการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การมีส่วนร่วมในการอภิปราย |
|
15 | ทั้งการอภิปรายในกลุ่มและการตั้งคำถามระหว่างกลุ่ม |
การเสนอเค้าโครงวิจัย |
|
15 | ให้เริ่มยื่นเสนอหลังจากเรียนกระบวนการวิจัยเสร็จสิ้น |
การรายงานความก้าวหน้างานวิจัย |
|
20 | ให้นำเสนอสองครั้งหลังการเสนอเค้าโครงวิจัย |
การนำเสนอผลงานวิจัย |
|
20 | นำเสนอปากเปล่าในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
|
30 | นำส่งภายในสัปดาห์สุดท้ายของการสอบปลายภาค |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | กรรณิกา จรรย์แสงและคณะ. 2545. สถานภาพเอกสารด้านฝรั่งเศส-ไทยศึกษาในประเทศไทย จนถึงปี พ.ศ. 2536. นครปฐม : ภาควิชาภาษาฝรั่งเศส คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ดียู ศรีนราวัฒน์และคณะ. (2561). ภาษาและภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2561). การออกแบบการเรียนแนวดิจิทัล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตรภรณ์. (2553). การออกแบบการวิจัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุรเดช โชติอุดมพันธ์. (2560). ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อัจฉรา เพิ่งพานิช.(2554).การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่7.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Bořek-Dohalská, Marie et Suková Vychopňová, Kateřina. (2017). Didactique de la phonétique et phonétique en didactique du FLE. Prague : Charles University in Prague, Karolinum Press. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Chitkla, Kantaphong. (2019). Une stratégie élitiste d’évangélisation au Siam : de la louange du roi à la louange de Dieu. Thèse de Doctorat : Littératures et civilisations : INALCO-Paris. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Gil Pérez, Daniel. La metodología científica y la enseñanza de las ciencias. Unas relaciones controvertidas. En Enseñanza de las Ciencias, 1986, 4 (2): 111-121. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Jeannine, Wintzer. (2016). Herausforderungen in der Qualitativen Sozialforschung. Berlin: Springer- Verlag. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Kaveeyarn, Ajjima. (2011). Translation and analysis of « La Planète des Singes » (Part I) by Pierre Boulle. Master Thesis: French-Thai Translation: Thammasart University. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Lazcano Peña, D. Formación de investigadores; análisis de la enseñanza de metodologías y técnicas de investigación en facultades de comunicación en España. Actas del 2 º Congreso Nacional sobre metodologías de la investigación en Comunicación. Segovia, 2 y 3 de Mayo de 2013. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Porst, Rolf. (2014). Fragebogen. Wiesbaden: Springer- Verlag. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Röß, Dieter. (1993). Forschungsstrategien: Ziele setzen — Entscheiden — Führen. Wiesbaden: Betriebswirtschaftlicher Verlag. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Silpakorn Educational Research Journal; Vol 6 No 2 (2014): July - December 2014; 297-300; วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย; Vol 6 No 2 (2014): July - December 2014; 297-300; 1906-8352 | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Siramanon, Bhawinee. (2008). Les enfants et les adultes dans la série du « Petit Nicolas » de Sempé et Goscinny. Mémoire de Maîtrise : Études françaises : Univeristé Silpakorn. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Sritong, C. (2015). Passive Voice in Spanish in Online News: Reflexive Passive with Se-construction and Periphrastic Passive with Ser. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus, 7 (2), (July-December 2015), (p.132-156). [in Thai]. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Sritong, C. (2015). Grammatical Errors in Surface Strategy Taxonomy: A Case Study in Spanish Writing Course for Thai University Students. Journal of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, 32 (1), (January-April 2015), (p.103-130). [in Thai]. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Tongwanchai, F. (2015). Pragmatic competence in requests of Thai learners of Spanish. Pertanika J. Soc. Sci. & Hum. 23 (S): 131 - 141 (2015) |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ