รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 | ความรู้พื้นฐานนโยบายสาธารณะ | 6 |
|
KKU e-Learning บรรยาย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หนังสือ หรือ ตำรา Power Point |
|
3-5 | การกำหนดนโยบายสาธารณะ แนวคิดทฤษฎีการกำหนดนโยบาย | 9 |
|
KKU e-Learning บรรยาย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หนังสือ หรือ ตำรา Power Point |
|
6-8 |
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ การวิเคราะห์นโยบายเชิงคุณภาพ |
9 |
|
KKU e-Learning บรรยาย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หนังสือ หรือ ตำรา Power Point |
|
10-12 | การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ | 9 |
|
KKU e-Learning บรรยาย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หนังสือ หรือ ตำรา Power Point |
|
13-15 | การประเมินผลนโยบายสาธารณะ | 9 |
|
KKU e-Learning บรรยาย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หนังสือ หรือ ตำรา Power Point |
|
16 | กรณีศึกษา นโยบายในช่วงเวลาต่างๆ | 3 |
|
KKU e-Learning บรรยาย ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet หนังสือ หรือ ตำรา Power Point |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
งานเดี่ยว |
|
10 | ทุกสัปดาห์ |
สอบกลางภาค |
|
25 | สัปดาห์ที่ 9 |
สอบปลายภาค |
|
25 | สัปดาห์ที่ 16 |
รายงานกลุ่ม |
|
30 | |
การเข้าเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม |
|
10 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | รุ่งอรุณ บุญสายันต์. 2564. HS 412 103 นโยบายสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น. (เอกสารอัดสำเนา) | อาจารย์ภายในคณะ | |
เอกสารประกอบการสอน | ศุภชัย ยาวะประภาส และปิยกร หวังมหาพร. 2552. นโยบายสาธารณะไทย: กำเนิด พัฒนาการ และสถานภาพของศาสตร์. กรุงเทพ: จุดทอง. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
เอกสารประกอบการสอน | สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. 2552. นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | สมพร เฟื่องจันทร์. 2539. นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎี และการปฏิบัติ กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | มยุรี อนุมานราขธน. 2551. นโยบายสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอ็กเปอร์ตเน็ต. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
Introduction To Public Policy Process For Beginners https://www.youtube.com/watch?v=f1EY5hbG5QY |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
YouTube |
ข้อเสนอการออกแบบนโยบายสาธารณะ โดย สฤณี อาชวานันทกุล https://www.youtube.com/watch?v=JLnadQ7ADvg |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Knill, C., & Tosun, J. (2020). Public policy: A new introduction. Bloomsbury Publishing. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Fischer, F., & Miller, G. J. (Eds.). (2017). Handbook of public policy analysis: theory, politics, and methods. Routledge. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | Sadovnik, A. R. (2017). Qualitative research and public policy. In Handbook of public policy analysis (pp. 443-454). Routledge | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล | คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2060).รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐. | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ