Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS412104
ภาษาไทย
Thai name
หลักและเทคนิคการวางแผน
ภาษาอังกฤษ
English name
PRINCIPLES AND TECHNIQUES OF PLANNING
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งอรุณ บุญสายันต์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งอรุณ บุญสายันต์
    • รองศาสตราจารย์นิภาพรรณ เจนสันติกุล
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนของการวางแผน และสถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ได้
    • นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ความหมาย ปรัชญา และแนวคิดเกี่ยวกับการวางแผน ความสำคัญของการวางแผน องค์ประกอบและประเภทของการวางแผน กระบวนทัศน์ในการวางแผน กระบวนการและขั้นตอนของการวางแผน การวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลเพื่อการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Meaning, philosophy and concepts of planning, importance of planning, factors and types of planning, paradigm of planning, processes and steps of planning, situation analysis for strategic planning, plan implementation, and evaluation for administration with public responsibility
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Problem-based learning
    • Project-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 อธิบายแผนการจัดการเรียนรู้และข้อตกลงในชั้นเรียน แนะนำสื่อการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอนและกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
    อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผน ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของการวางแผน ลักษณะของการวางแผนที่ดี แนวคิด ทฤษฎี นักวิชาการที่เกี่ยวข้อง กระบวนการวางแผน
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว/แบบกลุ่ม
    5) Google Classroom
    6) แผนการจัดการเรียนการสอน
    3 กระบวนการและขั้นตอนในการวางแผน การวิเคราะห์ SWOT Analysis วิธีการวางแผน Strategic foresight การทำแบบฝึกการวิเคราะห์ SWOT และการทำแผนปฏิบัติการ 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนของการวางแผน และสถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว/แบบกลุ่ม
    5) Google Classroom
    6) การทำแบบฝึกหัด/การทำแผนปฏิบัติการ
    4 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและการวางแผน DSS, MIS, EIS, TPS ระบบสำนักงานอัตโนมัติ ประเภทการตัดสินใจ และระบบติดตามและประเมินผล 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว/แบบกลุ่ม
    5) Google Classroom
    6) การทำแบบฝึกหัด
    5 คำศัพท์เกี่ยวกับหลักและเทคนิคการวางแผน 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว
    5) Google Classroom
    6-8 การนำเสนองานกลุ่ม
    1. ระบบสารสนเทศ ได้แก่ MIS DSS EIS TPS ระบบสำนักงานอัตโนมัติกับการวางแผน
    2. นักวิชาการกับแนวคิดการวางแผน
    3. กระบวนทัศน์ในการวางแผน
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    1) รายงาน
    2) การนำเสนองานกลุ่ม
    3) การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
    4) กิจกรรมกลุ่ม
    5) การค้นคว้าจากหนังสือ ตำรา และสื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    9-11 เทคนิคการรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการวางแผน
    การวิเคราะห์สถานการณ์เทคนิคการวางแผนเชิงกลยุทธ์
    กลวิธีสร้างประสิทธิภาพของการวางแผน และเทคนิคเครื่องมือ และการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และการประสานงาน
    9
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนของการวางแผน และสถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว
    5) Google Classroom
    12 การติดตามประเมินผลเพื่อทบทวนแผน กรณีตัวอย่าง 3
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว
    5) Google Classroom
    13-15 การวิเคราะห์และการปฏิบัติการวางแผน
    และการอภิปรายผลการศึกษา
    9
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
    1) Powerpoint
    2) เอกสารประกอบการสอน
    3) หนังสือ/วารสาร/สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์
    4) การอภิปรายแลกเปลี่ยนแบบเดี่ยว
    5) Google Classroom
    6) การวิเคราะห์กรณีศึกษา
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การนำเสนองานกลุ่ม
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนของการวางแผน และสถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ได้
    • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
    • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    20
    การสอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนของการวางแผน และสถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ได้
    • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
    • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
    30 -
    การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
      10 ตลอดภาคเรียน
      กิจกรรมกลุ่ม/กิจกรรมเดี่ยว
      • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหรือในเรื่องหลักและทฤษฎีการวางแผน ความหมายและคำศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
      • S1: นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์กระบวนการ ขั้นตอนของการวางแผน และสถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ได้
      • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
      • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
      10 -
      การสอบปลายภาค
      • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานที่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
      • K3: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนทัศน์การวางแผน และสามารถกำหนดวิธีการวางแผนได้
      • S2: นักศึกษามีทักษะในการติดตามการวางแผนและการเลือกใช้แผนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ
      • S3: นักศึกษามีทักษะในการออกแบบ วางแผน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และแก้ไขปัญหาได้
      • E1: นักศึกษามีวินัยและมีจริยธรรมทางวิชาการ
      • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ
      30 -
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ปกรณ์ ปรียากร. 2544. การวางแผนกลยุทธ์ : แนวคิดและแนวทางเชิงประยุกต์.
      กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา สุรัสวดี ราชกุลชัย. 2547. การวางแผนและการควบคุมทางการบริหาร. กรุงเทพฯ:
      จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ สัญญา เคณาภูมิและเสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. 2560. กรอบแนวคิดการศึกษาการวางแผนและการบริหารแผน. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. 4(2): 389-411.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ อาทิตย์ บริหาร และยุภาพร ยุภาศ. 2565. การวางแผนนโยบายสาธารณะโดยใช้กระบวนทัศน์แบบองค์รวม
      และการมีส่วนร่วมของประชาชน. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 8 (3): 397-405.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ พัชราพรรณ ชอบธรรม. 2562. การวางแผนกลยุทธ์ : เครื่องมือสู่ความสำเร็จขององค์การ. Journal of Humanities and Social Sciences. 1 (2): 55-75. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นิติบดี ศุขเจริญ. 2562. การมองอนาคต. Rajabhat Maha Sarakham University Journal. 13(3): 33-42. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. 2564. คู่มือการจัดทำภาพอนาคตทางยุทธศาสตร์ (Strategic Foresight). กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). 2562. เครื่องมือการมองอนาคต. กรุงเทพฯ: สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม (IFI) สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
      อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ นิภาพรรณ เจนสันติกุล. 2565. แผนพัฒนาท้องถิ่นกับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางในชุมชน. วารสารพื้นถิ่นโขงชีมูล. 8 (1): 119-146.
      อาจารย์ภายในคณะ
      หนังสือ หรือ ตำรา Cook, W. J. 1995. Strategic planning for America’s schools (Revised ed.). Alexandria, VA: American Association of School Administrators. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      หนังสือ หรือ ตำรา Drucker, P. F. 1993. Management: Tasks, responsibilities, practices. New York, NY: Harper & Row. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      • นําผลการวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop Course instruction and assessment according to the result from classroom research.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

      1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
      1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
      1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

      2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
      2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
      2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

      3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
      3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
      3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

      4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
      4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
      4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

      5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
      5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
      5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
      5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ