รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 | พื้นฐานทางการเมืองระหว่างประเทศ | 3 |
|
1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Hangouts Meet หรือ Zoom เพื่อชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานผ่านออนไลน์ผ่านระบบ KKU e-Learning และอธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินร่วมกัน 2) บรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎีและนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้วีดีโอคลิปการบรรยาย ผ่านโปรแกรม Google Hangouts Meet หรือ Zoom 3) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนบทที่ 1 และทำแบบฝึกหัดท้ายบทส่งผ่าน KKU e- Learning |
|
2-3 | ธรรมชาติและโครงสร้างระบบการเมืองระหว่างประเทศในปัจจุบัน | 6 |
|
1) การบรรยายทฤษฎีในหัวข้อธรรมชาติและโครงสร้างของระบบการเมืองระหว่างประเทศในปัจจุบันโดยใช้ VDO clips ผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนบทที่ 2-3 และทำแบบฝึกหัดท้ายบทส่งผ่าน KKU e- Learning 3) ให้นักศึกษาดูคลิปจากภาพยนตร์ Babel หรือ Fahrenheit 11/9 และสังเคราะห์ในประเด็นธรรมชาติและโครงสร้างของระบบการเมืองระหว่างประเทศร่วมกัน ผ่านโปรแกรม Zoom 4) นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post Test) ผ่านโปรแกรม KKU e-Learning |
|
4-5 | การเมือง การเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และอุดมการณ์ที่มีผลต่อพฤติกรรมของรัฐ | 6 |
|
1) นักศึกษาฟังบรรยายภาคทฤษฎีโดยใช้ VDO clips ผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนบทที่ 4,5 3) ศึกษากรณีศึกษาจากวีดีทัศน์สารคดีสั้น จาก Netflix เรื่อง Rotten: Bitter Chocolate (หรือตอนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง) จากนั้นเข้าไปแสดงความเห็นตามประเด็นที่กำหนดใน Discussion Forum ในสัปดาห์ที่ 4 4) ศึกษากรณีศึกษาจากวีดีทัศน์สารคดีสั้น จาก Netflix เรื่อง Explained: Why women are paid less? (หรือตอนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง) และเข้าไปแสดงความเห็นตามประเด็นที่กำหนดใน Discussion Forum ในสัปดาห์ที่ 5 5) ให้นักศึกษาทำ Quiz ทดสอบความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ ใน KKU e-Learning |
|
6-8 | เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการด้านความสัมพันธ์ของรัฐ | 9 |
|
1) นักศึกษาฟังบรรยายภาคทฤษฎีโดยใช้ VDO clips ผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษาจับกลุ่ม 3-4 คน และเลือกกรณีศึกษาที่เกี่ยวกับเครื่องมือในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐรูปแบบต่างๆจากบทความข่าวออนไลน์และนำเสนอในห้องเรียนเพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนร่วมวิเคราะห์ตามประเด็นที่ผู้สอนกำหนด ใน Discussion Forum พร้อมส่งใบงานสรุปของตนเองผ่าน KKU e-Learning 3) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนบทที่ 6-7 และทำแบบฝึกหัดท้ายบทส่งผ่าน KKU e-Learning |
|
9-10 |
ความร่วมมือระหว่างรัฐในรูปแบบต่างๆ |
6 |
|
1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายภาคทฤษฎีจากอาจารย์ผู้สอนผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนบทที่ 8-9 จากนั้นจึงทำใบงานส่งผ่านโปรแกรม KKU e-Learning |
|
11-13 | ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย และสถาบันระหว่างประเทศ | 9 |
|
1) นักศึกษาเข้าฟังบรรยายภาคทฤษฎีจากอาจารย์ผู้สอนผ่านโปรแกรม Zoom 2) นักศึกษาศึกษาเนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนบทที่ 10-11 พร้อมทำแบบฝึกหัดท้ายบทส่งผ่านโปรแกรม KKU e-Learning 3) นักศึกษาร่วมกันชมภาพยนตร์ The Terminal หรือConspiracy Theory: Did we land on the moon? หรือ the Corporations จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ประเด็นระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย และสถาบันระหว่างประเทศ ตามที่ผู้สอนกำหนด 4) นักศึกษาเข้าทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post Test) ผ่านโปรแกรม KKU e-Learning |
|
14-15 | ประเด็นปัญหาระหว่างประเทศร่วมสมัย | 6 |
|
1) นักศึกษาจับกลุ่มและเลือกประเด็นปัญหาระหว่างประเทศร่วมสมัยที่น่าสนใจ จากนั้นนัดหมายนำเสนอและถามตอบทีละกลุ่มต่อหน้าอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งถ่ายทอดสดผ่านโปรแกรม Zoom ให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนเข้าร่วมฟังและซักถาม 2) นักศึกษาส่งรูปเล่มรายงานประกอบการนำเสนอในสัปดาห์ที่ 15 |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
คะแนนเก็บ จากการสอบหลังเรียน (Post Test) ใบงาน และ Quiz |
|
20 | ในสัปดาห์ที่ 3,5,10,13 |
การนำเสนอผลงานและเล่มรายงาน |
|
10 | ในสัปดาห์ที่ 14 และ 15 |
การเข้าเรียนตามนัดหมายและใน Visual Classroom |
|
10 | ผ่านโปรแกรม KKU e-Learning |
การมีส่วนร่วมใน Discussion Forum |
|
10 | สัปดาห์ที่ 4,7,8 |
การสอบ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค |
|
50 | สอบแบบ Online และ/หรือ Take Home |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
สุกัญญา เอมอิ่มธรรม (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย. ขอนแก่น : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยขอนแก่น เอกสารประกอบการสอนวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดย พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์ |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมพงศ์ ชูมาก. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยุคปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พอล วิลคินสัน (2014). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ: ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ประทุมพร วัชรเสถียร. (2557). โลกร่วมสมัย 2: คำถามที่คนรุ่นใหม่ใคร่รู้ . กรุงเทพ:ปาเจรา | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Scott Sernau. (2013). Global Problems: the Search for Equity, Peace, and Sustainability. Boston: Pearson Education Limited |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศไทย: http://www.mfa.go.th/main/ | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | ภาพยนตร์สารคดี Fahrenheit 11/9, Conspiracy Theory: Did we land on the moon?, the Corporations |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ