Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS412402
ภาษาไทย
Thai name
การคิดวิเคราะห์ทางรัฐประศาสนศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
Analytical Thinking in Public Administration
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • รองศาสตราจารย์พิธันดร นิตยสุทธิ์
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • รองศาสตราจารย์พิธันดร นิตยสุทธิ์
    • อาจารย์อิมรอน โสะสัน
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
    • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    ทักษะ
    Skills
    • นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • นักศึกษาสามารถนำนวัตกรรมทางความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นในหลักสูตรและในชีวิตจริง
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การฟัง การบันทึก การค้นคว้าวิจัย การอ้างอิง และการนำเสนอความคิดและข้อถกเถียงโดยการเขียน การคิดเชิงวิพากษ์ การใช้เหตุผล และการสร้างประเด็นถกเถียงสำหรับนักศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ วรรณกรรมคัดสรรด้านรัฐประศาสนศาสตร
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Fundamental skills in reading, listening, recording, researching, citing, and presenting written ideas and arguments; Critical Thinking, reasoning, and discussing platform for Public Administration student; Selected literature in public administration
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    • Online learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Problem-based learning
    • Case discussion
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1 - จุดมุ่งหมายและความจำเป็นที่ต้องศึกษา
    รายวิชานี้
    - ลักษณะและธรรมชาติองค์ความรู้ทาง
    สังคมศาสตร์ และ รปศ.
    - จุดมุ่งหมายขององค์ความรู้ รปศ.
    - สาเหตุของปัญหาในองค์ความรู้ รปศ.
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) แนะนำตัวเองทั้งอาจารย์และนักศึกษา แนะนำรายวิชาการเรียนการสอน และการวัดผล/นักศึกษาร่วมเสนอวิธีการวัดผล
    2) การบรรยาย
    สื่อ
    1) แผนการสอน
    2) power point
    2 - หลักการคิดทางวิชาการ
    - การคิดเชิงนวัตกรรม
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    3-4 - องค์ประกอบเชิงระบบองค์ความรู้ 6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    5 - กระบวนการคิดทางวิชาการ
    - การคิดเชิงวิพากษ์
    - การคิดเชิงวิเคราะห์
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    6 - การคิดเชิงสังเคราะห์
    - การคิดเชิงบูรณาการ
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    7 - ตัวแบบที่ใช้เป็นกรอบในการคิดทาง รปศ.
    - Positivism
    - วิเคราะห์การบริหารแนว Rationalism
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    2) ตัวอย่าง
    8 - Phenomenalism
    - วิเคราะห์การบริหารแนว Contingency
    3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    2) ตัวอย่าง
    9-10 - ตัวแบบเศรษฐศาสตร์การเมือง กับ รปศ.
    - วิเคราะห์ Neo-Political-Economy
    กับ NPM
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    2) ตัวอย่าง
    11-12 - Critical Model
    - วิเคราะห์ รปศ. แนว Critical Model
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    กิจกรรมการเรียนการสอน
    1) การบรรยาย
    2) ถาม-ตอบ

    สื่อ
    1) power point
    2) ตัวอย่าง
    13-14 - นำเสนอการวิพากษ์การจัดการสาธารณะ
    ของไทย
    6
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาสามารถนำนวัตกรรมทางความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นในหลักสูตรและในชีวิตจริง
    1) นศ.นำเสนอ
    2) อ.ผู้สอนให้ข้อเสนอแนะ
    3) นศ.มีส่วนร่วมในการอภิปราย
    15 - สรุปบทเรียน 3
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C1: นักศึกษาสามารถนำนวัตกรรมทางความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นในหลักสูตรและในชีวิตจริง
    1. อ.สรุปบทเรียน
    2. นศ.มีส่วนร่วมในการอภิปราย
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การสอบกลางภาค
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    35 นอกตาราง
    การสอบไล่

    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    35 ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย
    การค้นคว้าและนำเสนอ
    • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่องหลักและกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • S1: นักศึกษามีทักษะในการในการคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    • A1: นักศึกษาสามารถนำนวัตกรรมทางความคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นในหลักสูตรและในชีวิตจริง
    30 สัปดาห์ที่ 13-14
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    เอกสารประกอบการสอน Powerpoint "การคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการทางรัฐประศาสนศาสตร์" อาจารย์ภายในคณะ
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3

    1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
    1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
    1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น

    2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
    2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
    2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

    3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
    3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์

    4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
    4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
    4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
    4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม

    5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
    5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
    5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
    5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ