รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
-แนะนำรายวิชา กำหนดนโยบายรายวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การมอบหมายงานในรายวิชา -การประเมินความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
3 |
|
บรรยายแผนการสอน และแนวคิด หลักการเบื้องต้น ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา แผนการสอน หนังสือ หรือ ตำรา ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom หรือ Meet |
|
2-3 |
บทที่ 1 ระบบนิเวศน์ และภูมินิเวศน์ท้องถิ่น -แนวคิด ทฤษฎีระบบนิเวศ์ ภูมินิเวศน์ -ความแตกต่างของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
6 |
|
(1) การบรรยายเนื้อหา (Live) ผ่านโปรแกรม Google Meet (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกันในกระดานสนทนาในระบบ Google Classroom ร่วมกับ Google Jamboard “Discussion Forum 2: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและภูมินิเวศท้องถิ่น” และส่งผลการอภิปรายอย่างย่อกลับมาที่ผู้สอนตามช่องทางที่กำหนด (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 2 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ผู้สอนอัพโหลดให้ในระบบ Google Classroom ในส่วนของ Assignment “บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและภูมินิเวศท้องถิ่น” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน (4) ผู้สอนนัดพบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป |
|
4 |
บทที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม -ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม -แนวคิดความสัมพันธ์ที่เป็นประโยชน์ คุ้มค่า และยั่งยืน |
3 |
|
(1) การบรรยายเนื้อหา (Live) ผ่านโปรแกรม Google Meet (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกันในกระดานสนทนาในระบบ Google Classroom ร่วมกับ Google Jamboard “Discussion Forum 3: ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม” และส่งผลการอภิปรายอย่างย่อกลับมาที่ผู้สอนตามช่องทางที่กำหนด (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 3 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ผู้สอนอัพโหลดให้ในระบบ Google Classroom ในส่วนของ Assignment “บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน (4) ผู้สอนนัดพบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป |
|
5-7 |
บทที่ 3 วิกฤตการณ์และแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -ปัญหาและวิกฤติการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -แนวทางการพัฒนา แนวทางการบริหารจัดการ |
9 |
|
(1) การบรรยายเนื้อหา (Live) ผ่านโปรแกรม Google Meet (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกันในกระดานสนทนาในระบบ Google Classroom ร่วมกับ Google Jamboard “Discussion Forum 4: วิกฤตการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” และส่งผลการอภิปรายอย่างย่อกลับมาที่ผู้สอนตามช่องทางที่กำหนด (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 4 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ผู้สอนอัพโหลดให้ในระบบ Google Classroom ในส่วนของ Assignment “บทที่ 4 วิกฤตการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน (4) ผู้สอนนัดพบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป |
|
8 | สอบกลางภาค | 3 |
|
(1) การบรรยายเนื้อหา (Live) ผ่านโปรแกรม Google Meet (2) มอบหมายงานในนักศึกษาอภิปรายร่วมกันในกระดานสนทนาในระบบ Google Classroom ร่วมกับ Google Jamboard “Discussion Forum 5: การวิเคราะห์วิกฤติและการจัดการความเสี่ยง” และส่งผลการอภิปรายอย่างย่อกลับมาที่ผู้สอนตามช่องทางที่กำหนด (3) นักศึกษาศึกษาด้วยตนเองจากเอกสารประกอบการสอนบทที่ 5 และสื่อวีดีทัศน์ที่เกี่ยวข้อง ตามที่ผู้สอนอัพโหลดให้ในระบบ Google Classroom ในส่วนของ Assignment “บทที่ 5 การวิเคราะห์วิกฤติและการจัดการความเสี่ยง” และทำแบบฝึกหัดตามที่มอบหมายในระบบ จำนวน 1 ชิ้นงาน (4) ผู้สอนนัดพบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อสรุปการอภิปรายในประเด็นที่มอบหมาย ให้ข้อเสนอแนะการทำแบบฝึกหัดของผู้เรียน และชี้แจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป |
|
9-10 |
บทที่ 4 การวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง -แนวคิด นิยาม การวิเคราะห์ความเสี่ยงในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -การจัดการแก้ไขปัญหา ตามแนวทางการจัดการความเสี่ยง |
6 |
|
การบรรยายเนื้อหา มอบหมายงานเดี่ยว / กลุ่ม ให้นักศึกษาอภิปรายร่วมกัน เอกสารคำบรรยาย (สไลด์) ใบงาน/ใบกิจกรรมในชั้นเรียน |
|
11-12 |
บทที่ 5 การประเมินผลกระทบ ESIA -แนวคิด ความหมาย องค์ประกอบ ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม สุขภาพ -พัฒนาการ บริบทการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในประเทศไทย / กรณีศึกษา -ระบบ วิธีการ เครื่องมือ การประเมินผลกระทบ ESIA |
6 |
|
การบรรยายเนื้อหา มอบหมายงานเดี่ยว / กลุ่ม ให้นักศึกษาอภิปรายร่วมกัน เอกสารคำบรรยาย (สไลด์) ใบงาน/ใบกิจกรรมในชั้นเรียน |
|
13-14 |
บทที่ 6 การบริหารและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -เทคนิค เครื่องมือ การเรียนรู้ระบบนิเวศน์ -แนวคิด ทฤษฎี หลักการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
6 |
|
บรรยาย เรื่อง ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน ในห้องเรียน |
|
15-16 | การนำเสนอกรณีศึกษา และเสนอแนวทางการพัฒนา การบริหาร การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 6 |
|
บรรยายกรณีศึกษา ถามตอบเกี่ยวกับเนื้อหา อภิปรายกลุ่ม/ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ในห้องเรียน |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 48 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนระบบ Google Classroom และ Google Jamboard |
|
10 | |
การมอบหมายงานเดี่ยว หรือ กลุ่ม |
|
35 | ส่งสัปดาห์ที่ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 13 |
การทำรายงาน และ การนำเสนอรายงาน กรณีศึกษาการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
|
20 |
นำเสนอสัปดาห์ที่ 15-16 ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์สัปดาห์ที่ 15 |
การสอบกลางภาค |
|
25 | Take-home examination |
การสอบปลายภาค |
|
10 | Take-home examination |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
ทรงศักดิ์ ปัดสิทธุ์ และ พิชญ์ทิพา สุวรรณศรี. (2558). บทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมชุมชน : กรณีศึกษาอำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(2), หน้า 147-156. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
ธันวา ใจเที่ยง. (2560). การบูรณาการศาสตร์นิเวศวิทยากับภูมิปัญญาตะวันออกเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 11(1), หน้า 35-46. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
ธวัชชัย เพ็งพินิจ พรทวี พลเวียงพล และ พิมพ์ชนก วัดทอง. (2559). รูปแบบการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพของเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 11(ฉบับพิเศษ), หน้า 51-57 |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | ศศินา ภารา. (2550). ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : เอ็กเปอร์เน็ท. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Dunster, J. and Dunster, K. (1996). Dictionary of natural resource management. Wallingford, Oxon, UK. : CAB International. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Miller, L., Gale, P., and Brown, P. (2019). Social Science In Natural Resource Management Systems. London: Routledge. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Shenk, T. and Franklin, A. (eds.). (2001). Modeling in natural resource management : development, interpretation, and application. Washington, DC: Island Pr.Resources and online study |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | วิจารย์ สิมาฉายา. (2563). New Normal ชีวิตวิถีใหม่และโอกาสในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร. 4 (2), หน้า 64-81. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ |
กาญจนา คุ้มภัย. (2558). สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาป่าชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์,4 (1), หน้า 141-157. |
อาจารย์ภายนอกคณะ | |
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2565). การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย (Solid Waste Management of Local Administrative Organizations in Thailand). วารสารสิ่งแวดล้อม, 26 (1), หน้า 1-7. | อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ