รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาสเปน
Spanish
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2568
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
1. Introduction to literature 1.1 Characteristics of the literature 1.2 Types of literature 2. Literary genres. 3. Chronological line of Spanish literature. |
3 |
|
1. To explain and inform them about the course syllabus and goals. 2. Give them access to the Google Drive folder where they will find all the necessary material: 3. https://drive.google.com/open?id=1LBcRLnCqlySF194sEOlEVNEr-E4_gG6n 4. To introduce them to unit 1: “Literature”. 5. To lecture by using: a. Video Conference to explain theoretical knowledge. 6. Explanation of the homework for the next session. Resolution of doubts. |
|
2-3 |
1. Golden Age. 1.1 Introduction to the Golden Age 1.2 Chronological line (History of Spain) 2. The Renaissance and the Baroque. 2.1 Definition and general characteristics. 2.2 Main authors. 3. Specific characteristics of the Golden Age 3.1 Themes 3.2 Literary trends. 3.3 Historical legacy. |
6 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. To introduce them to unit 2: “The Golden age”. 2. To lecture by using: 2.1 Video Conference to explain theoretical knowledge. 3. Explanation of the homework for the next session. 4. Resolution of doubts. |
|
4-5 |
1. Poetry in the Renaissance. 1.1 General characteristics 1.2 Specific topics 1.3 Main topics 1.4 Featured authors 2. Poetry in the Baroque 2.1 General characteristics 2.2 Featured authors |
6 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. To introduce them to unit 3: “Poetry in the Golden Age”. 2. To lecture by using: 2.1 Videoconference to explain theoretical knowledge. 3. Explanation of the homework for the next session. 4. Resolution of doubts. |
|
6 |
1. How to create a concept map. 1.1 Concept, characteristics and utility 2. Explanation of group work 2.1 Make the groups and choose the author |
3 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. To introduce them the week’s topics. 2. Explanation of how to create a concept: map using zoom and the followings videos: - https://www.youtube.com/watch?v=r4BTt5CgrZA - https://www.youtube.com/watch?v=eSA0ekcIKjU - https://www.youtube.com/watch?v=J20jFdWib_s - https://www.youtube.com/watch?v=OBYXSpZGVog - https://www.youtube.com/watch?v=n2UfP6dGOaw 3. Explanation of the structure of the next class. 4. Resolution of doubts. |
|
7 |
1. Presentations of the works. 2. Midterm Exam |
3 |
|
1. Presentation of the works: Students in groups will choose an author from those worked in class and will have to present their most important works and develop one of those works. 2. Midterm Exam: Topics 1 to 3 |
|
8-10 |
1. The narrative in the Renaissance 1.1 General characteristics 1.2 Types of narrative 1.3 Featured authors 2. The narrative in the Baroque 2.1 General characteristics 2.2 Types of narrative 2.3 Featured authors |
9 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. To introduce them to unit 4: “Narrative in the Golden Age”. 2. To lecture by using: 2.1 Videoconference to explain theoretical knowledge. 3. Explanation of the homework for the next session. 4. Resolution of doubts. |
|
11-12 |
1. Unit 4 review topic 2. Presentations of the works |
6 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. Review to unit 4: “Narrative in the Golden Age” using zoom and several audiovisual resources. 3. Resolution of doubts. *Presentation of the works: Students in groups will choose an author from those worked in class and will have to present their most important works and develop one of those works. |
|
13-14 |
1. The Galatea 2. Exemplary novels 3. The Works of Persiles and Segismunda 4. The ingenious gentleman Don Quixote de la Mancha. 4.1 Importance of the work 4.2 Theme 4.3 Narrative techniques 4.4 Summary of the work |
6 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. To introduce them to unit 5: “Miguel de Cervantes’ works”. 2. To lecture by using: 2.1 Videoconference to explain theoretical knowledge. 3. Explanation of the homework for the next session. 4. Resolution of doubts. |
|
15 |
1. Unit 5 review topic 2. Presentations of the works |
3 |
|
1. Resolution of doubts from the previous class. 2. Review to unit 5: “Miguel de Cervantes’ works” using zoom and several audiovisual resources. 3. Resolution of doubts. *Presentation of the works: Students in groups will choose one of his works and make a presentation about it. |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
Class attendance and participation. |
|
30 | Class attendance and participation. |
Presentations and concept maps. |
|
20 | Presentations and concept maps. |
Midterm Exam. |
|
20 | Midterm Exam. |
Final Exam. |
|
30 | Final Exam. |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Sabaniego Olvidedo, M.V.(2020). Literatura Española del Siglo de Oro para curso de HS714501. Khon Kaen: Facultad de Humanidades y Ciencias Sociales | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | García Naranjo, Fina; Moreno García, Concha. “Cuentos, cuentos, cuentos. Variación y norma en la presentación de un texto literario”, en ¿Qué español enseñar? Norma y variación lingüística en la enseñanza del español a extranjeros, María Antonia Martín Zorraquino et al. (Eds.), Universidad de Zaragoza, Zaragoza, 2001, págs. 819-829. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Mendoza Fillola, A. (2004). «Los materiales literarios en la enseñanza de ele: funciones y proyección comunicativa». RedELE. Revista Electrónica de Didáctica ELE 1. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Mendoza Fillola, A. (2008). La utilización de materiales literarios en la enseñanza de lenguas extranjeras. Alicante: Biblioteca Virtual Miguel de Cervantes. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Naranjo, M. (1999). La poesía como instrumento didáctico en el aula de español como lengua extranjera. Madrid: Edinumen. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Quintana, Emilio. “Literatura y enseñanza de ELE”, en El español como lengua extranjera: de la teoría al aula, Salvador Montesa Peydró y Antonio Garrido Moraga (Eds.), ASELE, Málaga, 1993, págs. 89-92. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Sanz Pastor, M. (2000). «La lectura en el aula de ELE». Frecuencia L 14: 24-27. 7.Sanz Pastor, M. (2006). «Didáctica de la literatura: el contexto en el texto y el texto en el contexto». Carabela 59: 5-23. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Stembert, R. (1999). «Propuestas didácticas de los textos literarios en la clase de E/ LE». Didáctica del español como lengua extranjera. Cuadernos de tiempo libre. Colección Expolingua 4: 247-265. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ