รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาเยอรมัน
German
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
แนะนำรายวิชา และกำหนดรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ |
3 |
|
(1) พบนักศึกษาชี้แจงและแนะนำการเรียนและการส่งงานเข้าในระบบ Google Classroom ของรายวิชา อธิบายประมวลรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้พร้อมกับอภิปรายและตกลงรูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกัน และอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน ตลอดจนเงื่อนไขและข้อกำหนดต่างๆ ที่จะใช้ตลอดภาคการศึกษา (2) แบ่งกลุ่ม/จัดกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบหัวข้อ/เนื้อหาที่จะต้องมีการนำเสนอตลอดภาคการศึกษา |
|
2-3 |
บทที่ 1 การทำงานและการใช้เวลาว่าง 1.1 อาชีพต่างๆ 1.2 ข้อดีและข้อเสียของอาชีพต่างๆ ไวยากรณ์ Modalverben: müssen, können , และ möchten Präpositionen: Ortsangabe: bei, in |
6 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่ 1 (2) ทบทวนคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ รวมถึงประโยคสนทนาถาม-ตอบเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ (กิจกรรมกลุ่ม) และจับคู่ฝึกการสนทนาในหัวข้อ "Mein Traumberuf" (3) นำเสนอครั้งที่ 1 หัวข้อ Modalverb, Präpositionen (Ortangabe) (4) ศึกษาเนื้อหาประจำบทและทำแบบฝึกหัดที่เกี่ยวข้องในหนังสือเรียน โดยส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (5) ศึกษาค้นคว้าคลิปวีดิโอใน YouTube ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง และทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (6) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (7) นักศึกษาสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (8) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 |
|
4-6 |
(ต่อบทที่ 1) 1.3 กิจกรรมยามว่าง 1.4 การบอกเวลา และการนัดหมาย 1.5 ฤดูกาล ไวยากรณ์ - Präpositionen: Orts- und Zeitangaben - Modalverben: wollen, sollen และ dürfen |
9 |
|
(1) ดูคลิปวีดีโอเกี่ยวกับการทำกิจกรรมยามว่างของชาวเยอรมัน จาก YouTube และรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ (2) ดูคลิปวีดีโอเกี่ยวกับการบอกเวลา จาก YouTube ให้นักศึกษาสังเกตความแตกต่างของการบอกเวลาแบบทางการและไม่เป็นทางการ ตลอดจนเรื่องฤดูกาล (3) รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการบอกเวลาและฤดูกาล รวมถึงเดือนต่างๆ (4) นักศึกษาอ่านบทความ เพื่อสังเกตคำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในการกล่าวถึงกิจกรรมยามว่าง การบอกเวลา ตลอดจนการนัดหมายและทำแบบฝึกหัดประจำบท โดยส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (5) ศึกษาค้นคว้าและทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (6) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (7) นักศึกษาสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (8) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 |
|
7-8 |
บทที่ 2 ครอบครัวและงานบ้าน 2.1 สมาชิกในครอบครัว ไวยากรณ์ Possessivartikel |
6 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่2 (2) ทบทวนคำศัพท์เกี่ยวกับสมาชิกในครอบครัว (กิจกรรมกลุ่ม) (3) นำเสนอครั้งที่ 2 หัวข้อ Possessivartikel (4) นักศึกษาอ่านบทความ เพื่อสังเกตคำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในครอบครัว และทำแบบฝึกหัดประจำบท โดยส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (5) ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและดูคลิปวีดิโอใน YouTube ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง และทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (6) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (7) นักศึกษาสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic |
|
9-11 |
(ต่อบทที่ 2) 2.2 กิจวัตรประจำวันและงานบ้าน ไวยากรณ์ - Unregelmäßige Verben - Trennbare Verben - Wechselpräposition |
9 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับสัปดาห์ที่ 9-11 (2) นำเสนอครั้งที่ 3 หัวข้อ Verben: trennbare Verben und unregelmäßige Verben และ Präpositionen: mit Akkusativ, mit Dativ und Wechselpräpositionen (3) มอบหมายให้นักศึกษาดูคลิปวีดิโออธิบายเนื้อหาที่เกี่ยวข้องใน YouTube (4) นักศึกษาอ่านบทความ เพื่อสังเกตคำศัพท์และรูปประโยคที่เล่าถึงการทำกิจวัตรประจำวัน และร่วมกันรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในหนังสือเรียนและฟังบทสนทนาที่เกี่ยวข้องใน Google Classroom และทำแบบฝึกหัดประจำบท โดยส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (5) ศึกษาค้นคว้าและดูคลิปวีดิโอใน YouTube ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง และทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (6) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (7) นักศึกษาสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (8) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่3 |
|
12-15 |
บทที่ 3 การสอบถามและการให้ข้อมูล 3.1 การบอกทางและวิธีการเดินทาง 3.2 การเล่าประสบการณ์ ไวยากรณ์ - Orts- und Richtungsangaben - Personalpronomen (im Akkusativ) - Perfekt |
12 |
|
(1) เช็คชื่อผู้เข้าเรียนอธิบายลักษณะของกิจกรรมการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และการส่งงานสำหรับบทที่ 3 (2) นำเสนอครั้งที่ 4 หัวข้อ Orts- und Richtungsangaben, Perfekt และ Personalpronomen im Akkusativ (3) นักศึกษาอ่านบทความและฟังบทสนทนา เพื่อสังเกตโครงสร้างของประโยคที่ใช้ในบทความและบทสนทนา ตลอดจนการใช้โครงสร้างประโยคที่ใช้ในการเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต (4) ทบทวนการใช้คำสรรพนามในรูป Nominativ และ Dativ และทำกิจกรรมกลุ่ม โดยมอบหมายให้นักศึกษาดูคลิปวีดีโอเกี่ยวกับหัวข้อ Perfekt และ Personalpronomen im Akkusativ ใน youtube ร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ผ่านการชมคลิปดังกล่าว ส่งงานใน Google Classroom ของรายวิชา (5) ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในหนังสือและฟังบทสนทนาที่เกี่ยวข้องใน Google Classroom ของรายวิชาและทำแบบฝึกหัดประจำบท โดยส่งงานที่ได้รับมอบหมายใน Google Classroom ของรายวิชา (6) ศึกษาค้นคว้าและทำแบบฝึกหัด online เพิ่มเติม (7) ตอบข้อซักถามของนักศึกษา และอธิบายถึงข้อผิดพลาดที่พบในแบบฝึกหัดหรืองานที่มอบหมาย (8) ผู้เรียนสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและบันทึกผลการเรียนรู้ ในรูปแบบ My Mapping/Infographic (9) ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 4 |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
- การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมในชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม - พฤติกรรมการส่งงาน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
- การนำเสนอหน้าชั้นเรียน - การนำเสนอผ่านคลิปวีดีโอ |
|
30 | สัปดาห์ที่ 3, 7, 9, 12, |
การสอบเก็บคะแนน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 3, 6, 11 และ 15 |
การสอบกลางภาค |
|
20 | ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย |
การสอบปลายภาค |
|
30 | ตามปฎิทินของมหาวิทยาลัย |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
Dallapiazza, Rosa-Maria et al. Tangram akutuell 1 Lektion 5-8. Max Hueber Verlg. Germany, 2009. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Schritte international 1 | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Themen neu 2 |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | https://www.hueber.de/einstufungstests/tangram_a1 2016 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ |
http://www.hueber.de/shared/uebungen/schritte-international 2016 |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วรรณา แสงอร่ามเรือง. ไวยากรณ์เยอรมัน เล่ม 2. Deutsche Grammatik Band 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา |
วรรณา แสงอร่ามเรือง. ภาษาเยอรมันในชีวิตประจำวัน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2551. |
||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | www.hueber.de 2016 | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://de.langenscheidt.com 2016 | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Tangram aktuell 1 Lektion 5-8 | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 2.5 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ