Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาเยอรมัน
German
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS722302
ภาษาไทย
Thai name
การวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
English name
Analyzing German Language in the Aspects of Linguistics
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS721104#,HS721102#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาเยอรมัน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป
    • อาจารย์Dustin Hoffmann
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัสมิลล์ วัชระกวีศิลป
    • อาจารย์Dustin Hoffmann
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    จริยธรรม
    Ethics
    • มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    ทักษะ
    Skills
    • วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ประวัติภาษาเยอรมันโดยสังเขป สัทศาสตร์ สัทวิทยา วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ อรรถศาสตร์ และวัจนปฏิบัติศาสตร์
    ภาษาอังกฤษ
    English
    Analying German language in the aspects of history of German language, phonetics, phonology, morphology, syntax, semantics, and pragmatics
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Classroom-based learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Research-based learning
    • Problem-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 - สังเขปรายวิชา
    - ความหมายและความสำคัญของภาษาศาสตร์เยอรมัน

    6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    3-4 Phonetics and Phonology 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    5-6 Morphology 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    7-8 Syntax 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    9-10 Semantics 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    11-12 Pragmatics 6
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    13-15 Presentations 9
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    10
    สอบกลางภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    30
    สอบปลายภาค
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    30
    Ptojects
    • K1: มีความรู้ความเข้าใจภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • K2: มีความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S1: วิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์
    • S2: ประยุกต์ทฤษฎีและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้กับการวิเคราะห์ภาษาเยอรมันในมุมมองภาษาศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
    • E1: มีความสามารถใช้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้อย่างเหมาะสม
    • C1: : มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อการทำงานกลุ่ม
    • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ
    30
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Fandrych, C./Thurmair, M. (2018): Grammatik im Fach Deutsch als Fremd- und Zweitsprache. Erich Schmidt Verlag. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Busch / Stenschke (2008/2018): Germanistische Linguistik. Eine Einführung. Narr/Francke/Attempto. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Vogelsang, S. (2022): „Alles klar, danke, tschüss!“ Gesprächsbeginn und Gesprächsende in
    authentischen deutschen Gesprächen. Vortrag an der Khon Kaen University, Deutschabteilung.
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Kessel / Reimann (2010): Basiswissen Deutsche Gegenwartssprache. Eine Einführung. UTB. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Imo, W. (2016): Grammatik. Eine Einführung. Stuttgart: Metzler. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Graefen, G./Liedke, M. (2020): Germanistische Sprachwissenschaft. Deutsch- als Fremd-, Zweit- und
    Muttersprache. Tübingen: Narr/Francke/Attempto (3. überarbeitete Aufl., 1. Aufl. 2008)
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Horstmann, S. (2021): Linguistik zum Anfassen: Hör- und Sprecherfahrungen - mit theoretischer Unterfütterung. Konzept für eine Lehrerfortbildung zum Thema "Gesprochene Sprache im DaF-Unterricht. In: Gesprochene Sprache in der kommunikativen Praxis - Analysen authentischer Alltagssprache und ihr Einsatz im DaF-Unterricht. Weidner B, Günthner S, Schopf J (Eds); Reihe Deutschdidaktik. Tübingen: Stauffenburg. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้ ดังนี้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ