รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
General Education Program, Faculty of Humanities and Social Sciences
สาขาวิชา
Field
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2560
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2563
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
หน่วยที่ 1. บทนำ ขอบข่ายของรายวิชา หน่วยที่ 2 แนวคิดพหุวัฒนธรรมและแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (1) เพื่อให้นศ.เข้าใจกระบวนการเรียนการสอน (2) เพื่อให้นศ.สามารถแบ่งกลุ่มงานได้ (3) เพื่อทราบความคาด หวังจากรายวิชาของนศ. (4) เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับขอบข่ายวิชา (5) เพื่อให้นศ.เข้าใจถึงสาระสำคัญของแนวคิดพหุวัฒนธรรมตลอดจนแนวคิดและทฤษฎีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง |
6 |
|
(1) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน (2) ให้นศ.แบ่งกลุ่มงาน (3) ให้นศ.ทำกิจกรรมความคาดหวังจากรายวิชา (4) บรรยายเนื้อหาเรื่องความหลากหลายของสังคมพหุวัฒนธรรม |
|
3-4 |
หน่วยที่ 3 ความเป็นโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในระดับชุมชน และ ปรากฏการณ์ทางสังคมในปัจจุบันที่สะท้อนความเป็นพหุวัฒนธรรมในชุมชน (1) เพื่อให้นศ.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการความเป็นสังคมโลกาภิวัตน์ที่เกิดในระดับชุมชน (2) เพื่อให้นศ.เข้าใจและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมในระดับชุมชน |
6 |
|
(1) ให้นศ.วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมในระดับชุมชนที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกาภิวัตน์ (2) บรรยายเนื้อหาเรื่องความเป็นโลกาภิวัตน์ |
|
5-6 |
หน่วยที่ 4 ความเป็นโลกาภิวัตน์ที่เกิดขึ้นในระดับองค์กร และ ปรากฏการณ์ทางสังคมในปัจจุบันที่สะท้อนความเป็นพหุวัฒนธรรมในองค์กร (1) เพื่อให้นศ.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการความเป็นสังคมโลกาภิวัตน์ ที่เกิดในระดับองค์กร (2) เพื่อให้นศ.เกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมในระดับองค์กรที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกาภิวัฒน์ |
6 |
|
(1) ให้นศ.วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมในระดับองค์กรที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกาภิวัฒน์ (2) บรรยายเนื้อหาเรื่อง ความเป็นโลกาภิวัตน์ในระดับองค์กร และความเป็นพหุวัฒนธรรมในองค์กร |
|
7-8 |
หน่วยที่ 5 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม และการมองความหลากหลายทางวัฒนธรรมผ่านสื่อ (1) เพื่อให้นศ.มีความรู้ ความเข้าใจ และอธิบายพฤติกรรมการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในสังคมพหุวัฒนธรรมทั้งระดับชุมชนและองค์กร (2) เพื่อให้นศ.ค้นคว้าหาข้อมูลพฤติกรรมการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในสังคมพหุวัฒนธรรมทั้งระดับชุมชนและองค์กรและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมในระดับองค์กร |
6 |
|
(1) ให้นศ.พิจารณาข้อมูลพฤติกรรมการสื่อสารที่เกิดขึ้นในสังคมพหุวัฒนธรรมทั้งระดับชุมชนและองค์กร (2) บรรยายเนื้อหาเรื่อง การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (3) ใช้กรณีศึกษา |
|
9 |
หน่วยที่ 6 เทคนิควิธีการและเครื่องมือสำหรับการ ทำความเข้าใจชุมชนและองค์กรในสังคมพหุวัฒนธรรม 6.1 เทคนิคการสัมภาษณ์ 6.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 6.3 CSR 6.4 Happy workplace |
3 |
|
(1) ให้นศ.พิจารณาปรากฏการณ์สังคมพหุวัฒนธรรมผ่านเครื่องมือแบบต่างๆ (2) บรรยายเนื้อหาเรื่องเทคนิควิธีการและเครื่องมือสำหรับการทำความเข้าใจชุมชนและองค์กรในสังคมพหุวัฒนธรรม |
|
10 |
หน่วยที่ 7 การตระหนักรู้ข้ามวัฒนธรรมในชีวิตประจำวัน 7.1 กรณีศึกษาพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย 7.2 กรณีศึกษาพหุวัฒนธรรมในระดับนานาชาติ |
3 |
|
(1) ให้นศ.วิเคราะห์ปรากฏการณ์พหุวัฒนธรรมผ่านกรณีศึกษา (2) ให้นศ.อภิปรายแลกเปลี่ยน |
|
11 |
หน่วยที่ 8 หลักเกณฑ์ความรู้พื้นฐาน รายละเอียดการทำโครงงาน 8.1 ระยะเวลาในการทำโครงงาน 8.2 การกำหนดขอบเขตและเนื้อหาของโครงงานที่จะทำการศึกษา 8.3 รายละเอียดขอแบบรายงานโครงงาน |
3 |
|
(1) การบรรยายเนื้อหา องค์ประกอบต่างๆของโครงงาน (2) ศึกษาเรียนรู้ผ่านกรณีตัวอย่างการทำโครงงาน |
|
12-14 | นำเสนอความก้าวหน้าโครงงาน Term paper | 9 |
|
(1) การบรรยายเนื้อหา องค์ประกอบต่างๆของโครงงาน (2 ) ศึกษาเรียนรู้ผ่านกรณีตัวอย่างการทำโครงงาน |
|
15 |
ส่งเอกสารโครงงาน Term paper ฉบับสมบูรณ์ ให้ผู้เรียนนำเสนอโครงงานการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อสะท้อนความเข้าใจความเข้าใจชุมชนและองค์กรในสังคมพหุวัฒนธรรม |
3 |
|
(1) นศ.นำเสนอโครงงาน (2) อาจารย์ร่วมแลกเปลี่ยนให้ข้อคิดเห็น |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบกลางภาค |
|
20 | |
สอบปลายภาค |
|
30 | |
งานกลุ่ม |
|
40 | |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม |
|
10 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา |
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. 2558. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม. ขอนแก่น: สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
อาจารย์ภายในคณะ | |
เอกสารประกอบการสอน |
6.2 เอกสารและข้อมูลสำคัญ จุฑาพรรธ์ จามจุรี ผดุงชีวิต. 2551. วัฒนธรรม การสื่อสาร และอัตลักษณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชิตาภา สุขพลำ. 2548. การสื่อสารระหว่างบุคคล. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ธีรยุทธ บุญมี. 2543. แนวความคิดหลักทางสังคมวิทยาเรื่องพหุนิยม (Pluralism) (ฉบับร่าง). การประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขาสังคมวิทยาเรื่องสถานภาพผลงานวิจัยเกี่ยวกับ พลวัตการปรับตัวของสังคมไทย ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา. นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. 2554. ศัพท์มานุษยวิทยา : Pluralism. จดหมายข่าวศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 13 (73):3-5. วัฒนา สุกัณศีล. 2548. โลกาภิวัตน์ = Globalization. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา. สุริยา สมุทคุปติ์ พัฒนา กิติอาษา. 2542. มานุษยวิทยากับโลกาภิวัตน์ : รวมบทความ. นครราชสีมา : ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. อมรา พงศาพิชญ์. 2543. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม: กระบวนทัศน์และบทบาทในประชาสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนำ กาญจนา แก้วเทพ. 2542. การวิเคราะห์สื่อ แนวคิดและเทคนิค. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กาญจนา แก้วเทพ และ สมสุข หินวิมาน. 2551. สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์. เกษียร เตชะพีระ. 2538. วิวาทะโลกานุวัตร์. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ. ฉันทนา บรรพศิริโชติ และ สุริชัย หวันแก้ว (บก. การแปล). 2539. ศัพท์การพัฒนา: คู่มือความรู้สู่อำนาจ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธิดารัตน์ กนิษฐนาคะ. 2541. บทบาทของสื่อมวลชนและสื่อบุคคลกับการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักเรียนแลกเปลี่ยนชาวต่างชาติโครงการ เอ เอฟ เอส. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธีรยุทธ บุญมี. 2538. วิกฤติมนุษย์ยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : วัลยา. ธีรยุทธ บุญมี 2546. ความหลากหลายของชีวิต ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สายธาร ดรุณี ชวชาติ. 2515. Intercultural Communication. นิเทศสาร. 1(6):19-26. นิเทศ ตินณะกุล. 2549. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พัฒนา กิติอาษา. 2546. ท้องถิ่นนิยม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. ภัสสร ลิมานนท์ และคณะ. 2539. สรปุผลวิจัยเบื้องต้น โครงการศึกษาครอบครัวไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภูษณ ปรีย์มาโนช. 2544. ฝ่าหนามกุหลาบโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : ภัคธรรศ. มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. 2552. โลกาภิวัตน์: อานิสงส์ถ้วนหน้า?. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ยุค ศรีอาริยะ. 2539. โลกาวิวัฒน์ 2000. กรุงเทพฯ : ไอโอนิค อินเตอร์เทรด รีซอสเซส. รุจา ภู่ไพบูลย์ และ นิตยา คชภักดี. 2539. การเปลี่ยนแปลงลักษณะครอบครัวไทย : ผลกระทบต่อความผาสุกของครอบครัว เอกสารประกอบการสัมมนาวิจัย เรื่อง ครอบครัวศึกษา : การวิจัยเพื่อความผาสุกของครอบครัวไทย. ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 1 พฤศจิกายน 2539 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร. รุจา ภู่ไพบูลย์, จริยา วิทยะศุภร และ ศิริวรรณ ไกรสุรพงศ์. 2542. ผลกระทบของภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อเด็ก เยาวชน และครอบครัว และความต้องการความช่วยเหลือ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ (บก.). 2544. ทฤษฎีและความรู้ในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ : วิถีทรรศน์, ศุภรัศมิ์ ฐิติกุลเจริญ. 2550. ทฤษฎีการสื่อสาร. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน. 2551. บทความวิชาการประชุมวิชาการชาตินิยมกับพหุวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สามชาย ศรีสันต์. 2541. ความเป็นปึกแผ่นในความสัมพันธ์ระหว่างบุตรผู้เป็นแรงงานย้ายถิ่นกับ บิดามารดา : การศึกษาตามแนวทฤษฎีการแลกเปลี่ยน. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สาขาสังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สังศิต พิริยะรังสรรค์ และ ผาสุก พงษ์ไพจิตร (บก.). 2538. โลกาภิวัตน์กับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อุไรวรรณ ธนสถิตย์. 2546. สังคมไทยยุคโลกาภิวัตน์ : อำนาจ การเมือง และสังคม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์, ผู้แปล. 2544. การสื่อสารและการครอบงำทางวัฒนธรรม. แปลจาก Communication and Cultural Domination. โดย Herbert I. Schiller. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อสันติภาพ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Cashmore, Ellis et al. 1996. Dictionary of Race and Ethnic Relations. 4th edition. London & New York: Routledge. Crowder, George. 2013. Theories of Multiculturalism: An Introduction. Malden, MA: Polity Press. Day, Richard J. F. 2002. Multiculturalism and the History of Canadian Diversity. Toronto: University of Toronto Press. Ferraro, Gary. 2001. Cultural Anthropology: An Applied Perspetive. 4th edition. Belmont, CA.: Wadsworth. Giddens, A. 1992. Modernity and Self Identity: Self and Society in the Late Modern Age. Cambridge: Polity Press. --------------. 2006. Sociology. 5th edition. Cambridge: Polity Heider, Karl G. et al. 2007. Seeing Anthropology: Cultural Anthropology Through Films. 4th edition. Boston: Pearson, Allyn and Bacon. Jan Aart Scholte. 2005. The Sources of Neoliberal Globalization. Switzerland : This United Nations Research Institute for Social Development (UNRISD). John B.Thomson. 1990. Ideology and Modern Culture, Critical Social Theory in the Era of Mass Communication. Policy Press. Cambridge. Kottak, Conrad Phillip. 2008. Mirror for Humanity: A Concise Introduction to Cultural Anthropology. 6th edition. Boston: McGraw-Hill. Kymlicka, Will and Baogang He, eds. 2005. Multiculturalism in Asia. New York: Oxford University Press. Parekh, Bhikhu. 2006. Rethinking Multiculturalism: Cultural Diversity and Political Theory. 2nd edition. New York: Palgrave Macmillan. Steinberg, Shirley R. (ed.) .2009. Diversity and Multiculturalism: A Reader. New York: Peter Lang. Wirangrong Boonnuch. 2011. Cross-cultural Communication: An Introduction. 2nd ed. Bangkok: Thammasat University Press. |
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รายละเอียดของผลการเรียนรู้ของแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. ด้านคุณธรรม มีพฤติกรรมเชิงคุณภาพ ดังนี้
1.1 หมายถึง มีวินัย ตรงต่อเวลา
1.2 หมายถึง มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 หมายถึง มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
*1.4 หมายถึง มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 หมายถึง มีความรู้ทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
2.2 หมายถึง มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
*2.3 หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาตามหลักสูตร รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 หมายถึง มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์แยกแยะประเด็นต่าง ๆ ในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิต
3.2 หมายถึง สามารถสังเคราะห์ความรู้ที่หลากหลายในการสร้างสรรค์ผลงาน
3.3 หมายถึง สามารถแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและการทำงานได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 หมายถึง มีภาวะการเป็นผู้นำ
4.2 หมายถึง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้ความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม (ยอมรับความแตกต่าง)
4.3 หมายถึง มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (รับผิดชอบ)
4.4 หมายถึง มีความรัก/เอื้ออาทรต่อสังคมและสถาบัน
4.5 หมายถึง มีจิตอาสาและเสียสละ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 หมายถึง สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารภาษาอังกฤษประจำวัน
5.2 หมายถึง สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์/วิจัยในการวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาชีวิตประจำวัน
5.3 หมายถึง สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ การประมวลความรู้และการสื่อสาร
*5.4 หมายถึง มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี และภาษาอาเซียนบวก 3 อีก 1 ภาษา
หมายเหตุ: * คือมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามอัตลักษณ์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์