รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Public Administration Program
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
Public Administration
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 | แนะนำรายวิชาและการอธิบายสาระสำคัญของนวัตกรรมการจัดการภาครัฐ นวัตกรรมในการจัดการภาครัฐที่สำคัญ การศึกษาการบริหารคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต | 6 |
|
1.การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning 2. อธิบายและให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มโดยให้ศึกษารายละเอียดการทำงานรายงานกลุ่มผ่าน Google Classroom และ KKU e-Learning โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการจัดทำรายงานผ่านโปรแกรม Zoom 3. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่มในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom 4. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานผ่าน Google Classroom และ KKU e-Learning |
|
3-4 | การอธิบายเครื่องมือการจัดการภาครัฐ อาทิ PDCA, Benchmarking, TQM, BSC, WFP, Strategic planning | 6 |
|
1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning 2. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom 3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานผ่าน Google Classroom และ KKU e Learning |
|
5 | การอธิบายหลักรัฐประศาสนศาสตร์กับการจัดการนวัตกรรม | 3 |
|
1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning 2. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom 3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานผ่าน Google Classroom และ KKU e Learning 4. การทำกรณีศึกษาและการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom และ Google Classroom |
|
6-9 | การอธิบายปรัชญา ยุทธศาสตร์การจัดการภาครัฐ ความหมายและความสำคัญของการบริหารคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต องค์กรสมรรถนะสูง (High Performance Organization) | 12 |
|
1. การบรรยายโดยใช้วิดีโอและทำแบบฝึกหัดใน Google Classroom และ KKU e-Learning 2. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom 3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานโดยพบปะผู้สอนในชั้นเรียน 4. การวัดและประเมินผลด้วยการทำข้อสอบกลางภาคโดยผู้สอนในสัปดาห์ที่ 8 |
|
10-11 |
การอธิบายทฤษฎีการจัดการภาครัฐร่วมสมัย องค์การสมัยใหม่ การจัดการสมัยใหม่ด้วย LEAN |
6 |
|
1. การถามตอบภายในเวลาที่กำหนดโดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น และการจัดทำรายงาน 2. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน 3. การทำแบบฝึกหัดและแบบทบทวนเนื้อหาผ่าน Google Classroom และ KKU e-Learning |
|
12-15 |
การอธิบายนวัตกรรมการบริการภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับ การจัดการภาครัฐ ปฏิสัมพันธ์ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมกับการจัดบริการสาธารณะ |
12 |
|
1.การบรรยายและการศึกษากรณีศึกษาผ่าน Youtube 2. การถามตอบภายในเวลาที่กำหนด ผ่านโปรแกรม Zoom และ Google Classroom 3. การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่มในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom และ Google Classroom 4. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน 5. การพบปะในชั้นเรียน |
|
16 | การสรุปภาพรวมความสัมพันธ์และการนำระบบบริหารคุณภาพและเพิ่มผลผลิต | 3 |
|
1. การถามตอบภายในเวลาที่กำหนด โดยให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สนับสนุนการสืบค้น 2.การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายภายในกลุ่มในชั้นเรียนหรือผ่านโปรแกรม Zoom 3. การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน |
|
17 | สอบปลายภาค | 3 |
|
การจัดสอบปลายภาค | |
รวมจำนวนชั่วโมง | 51 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การเข้าเรียน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
การร่วมกิจกรรม อภิปราย การทำกรณีศึกษา และการส่งแบบฝึกหัด |
|
10 | สัปดาห์ที่ 1-15 |
งานเดี่ยว เกณฑ์การพิจารณา 1) ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหา 2) ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ 3) การประยุกต์ และการสรุปความอย่างเป็นระบบ 4) ความตรงเวลาในการส่งงาน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 11 |
รายงานกลุ่ม เกณฑ์การพิจารณา 1) ความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหา 2) ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ 3) การสืบค้นข้อมูลและการอ้างอิงเอกสารอย่างถูกต้องตามรูปแบบ 4) การมีส่วนร่วมและความตรงเวลาในการส่งงาน |
|
10 | สัปดาห์ที่ 10 |
การสอบกลางภาค |
|
30 | สัปดาห์ที่ 8 |
การสอบปลายภาค |
|
30 | สัปดาห์ที่ 17 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ประจวบ กล่อมจิตร. (2557). เทคนิคการเพิ่มผลผลิตในองค์กร: หลักการและตัวอย่างการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปรีดา ยังสุขสถาพร และพันธพงศ์ ตั้งธีรสุนันท์ (2559). กระบวนการคิดและสร้างนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: แอร์โรว์ มัลติมีเดีย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พยัต วุฒิรงค์. (2562). การจัดการนวัตกรรมจากแนวคิดสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต. (2559). การบริหารงานคุณภาพในองค์การ. กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
ศลิษา ภมรสถิตย์. (2561). การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต (QUALITY AND PRODUCTIVITY MANAGEMENT). ม.ป.ท. |
||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ขวัญรักษ์ เกษรบัว. (2562). ประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เชิงนโยบายของรัฐไทย. วารสารวิชาการแสงอีสาน. 18 (2): 634-650. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | ชนินทร เพ็ญสูตร. (2560). ประเทศไทย 4.0 บริบททางเศรษฐกิจ และการเมือง. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). 8 (1): 67-99. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นพดล เหลืองภิรมย์. (2555). การจัดการนวัตกรรม: Innovation Management. กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เนาวนิตย์ สงคราม. (2556). การสร้างนวัตกรรม: เปลี่ยนผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปรียาวดี ผลเอนก. (2556). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | พยัต วุฒิรงค์. (2557). การจัดการนวัตกรรม: ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | สรวิชญ์ เปรมชื่น. (2559). คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระบบราชการไทย. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน. 9 (1): 38- 57. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล. (2558). การบริหารงานคุณภาพในองค์การ (รหัสวิชา 3001 - 1001). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. | ||
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ | นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2563). การบริหารองค์การด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิด Objective and Key Results.วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์. 37 (2) : 367-382. | อาจารย์ภายในคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการบริหารกิจการสาธารณะ
1.1 พัฒนานิสัยและประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมและด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
1.2 สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยมและจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้ ดุลยพินิจ ทางค่านิยมพื้นฐานและความรู้สึกของผู้อื่น
2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
2.2 มีความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบและข้อบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ในสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์
2.3 สามารถวิเคราะห์วิจัยเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาและการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริงและทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
3.2 สามารถศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้ความรู้แนวคิดและทฤษฎี ทางรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำและสมาชิกที่ดีของกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวได้ในสังคมที่มีความหลากหลายรับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
4.3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเองและบริบทของกลุ่ม
5. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานทางรัฐประศาสน-ศาสตร์
5.1 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาความรู้และการนำเสนอข้อมูล ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆ
5.2 สามารถใช้เครื่องมือทางสถิติขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
5.3 สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ