Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS734804
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาฝรั่งเศสด้านฝรั่งเศส-ไทยศึกษา
ภาษาอังกฤษ
English name
French-Thai Relations
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS732108#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
    • มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      • มีความตระหนักในการนำผลการศึกษาจากโครงงานไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาในเชิงวิชาการหรือเชิงวิชาชีพ
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ศัพท์ สำนวน และการใช้ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับความสัมพันธ์ฝรั่งเศสและไทยในด้านภาษา วรรณกรรม วัฒนธรรม ความร่วมมือทางวิชาการ และการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ
      ภาษาอังกฤษ
      English
      French vocabulary, expressions, and language use for comparative study of the French-Thai relations in terms of language, literature, culture, academic cooperation, and economic exchange
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Content and language integrated learning
      • Project-based learning
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 - สังเขปรายวิชา
      - ภาพรวมของความสัมพันธ์ฝรั่งเศส-ไทย
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      - ชี้แจงจุดประสงค์รายวิชา ทำข้อตกลงและนัดหมายกับผู้เรียนเรื่องโครงงานที่ต้องดำเนินการ ซึ่งเป็นโครงงานที่มีองค์ประกอบครบตามหลักการเขียนรายงานและมีจำนวนหน้า 30 หน้าโดยประมาณ / KKU E-learning และ Google Classroom
      - ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าตามประเด็นในเอกสารวิชาการเรื่อง “La Thaïlande : Continuité du partenariat avec la France” จากนั้นนำเสนอสาระสำคัญและข้อสรุป อภิปรายและตั้งคำถามในประเด็นที่สงสัย ผู้สอนช่วยให้คำแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom
      2 - ความสัมพันธ์ทางการทูตฝรั่งเศส-ไทย : สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยสยามปฏิรูป และหลังสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • C1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      - ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าตามประเด็นในเอกสารวิชาการเรื่อง “La résidence de France à Bangkok” โดยเน้นวิเคราะห์ปัจจัยความสัมพันธ์และประเด็นทางการทูต จากนั้นนำเสนอสาระสำคัญและข้อสรุป อภิปรายและตั้งคำถามในประเด็นที่สงสัย ผู้สอนช่วยให้คำแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom
      3 - ความสัมพันธ์ทางการค้าฝรั่งเศส-ไทย : สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมัยสยามปฏิรูป และหลังปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.2475 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • C1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      - ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าประเด็นด้านการค้าในเอกสารวิชาการเรื่อง “Du Royaume de Siam” “Au Siam : journal de voyage de M. et Mme Émile Jottrand” และ “Projet de la loi adopté par la chambre de députés portant approbation de la convention conclue à Bangkok, le 25 août 1926, entre la France et le Siam” โดยเน้นวิเคราะห์ปัจจัยและประเด็นทางการค้า จากนั้นนำเสนอสาระสำคัญและข้อสรุป อภิปรายและตั้งคำถามในประเด็นที่สงสัย ผู้สอนช่วยให้คำแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom
      4-5 - ความสัมพันธ์ทางการเมืองฝรั่งเศส-ไทย : สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น สมัยสยามปฏิรูปและหลังปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.2475 6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • C1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      - ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าประเด็นด้านการค้าในเอกสารวิชาการเรื่อง “Du Royaume de Siam” “Description du Royaume Thaï ou SIam” และ “Projet de la loi adopté par la chambre de députés portant approbation de la convention conclue à Bangkok, le 25 août 1926, entre la France et le Siam” โดยเน้นวิเคราะห์ปัจจัยและประเด็นทางการค้า จากนั้นนำเสนอสาระสำคัญและข้อสรุป อภิปรายและตั้งคำถามในประเด็นที่สงสัย ผู้สอนช่วยให้คำแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom
      6-7 - แนวคิดเรื่องตะวันออกศึกษาและมนุษยศาสตร์ แนวคิดกลุ่มโครงสร้างนิยม แนวคิดปรากฎการณ์นิยม แนวคิดการประกอบสร้าง การรื้อสร้าง 6
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • C1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      - แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยภาษาไทยและภาษาตะวันตกเกี่ยวกับแนวคิดตะวันออกศึกษาและมนุษยศาสตร์ แนวคิดกลุ่มโครงสร้างนิยม แนวคิดปรากฎการณ์นิยม แนวคิดการประกอบสร้าง การรื้อสร้าง/ KKU E-learning และ Google Classroom
      - นำเสนอข้อแตกต่างและข้อจำกัดของแต่ละแนวคิด โดยผู้สอนช่วยแนะนำและสรุป
      8-9 - ไทยศึกษาในเอกสารฝรั่งเศส 6
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      - แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยภาษาไทยและภาษาตะวันตกเกี่ยวกับสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมของไทยและตอบคำถามจากใบงาน โดยมีผู้สอนเป็นผู้ช่วยแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom
      - ฝึกเขียนรายงานเชิงวิพากษ์โดยอาศัยฐานคิดจากแนวคิดต่างๆที่ได้ศึกษาในสัปดาห์ก่อนๆ
      - นำเสนอหัวข้อที่กลุ่มผู้เรียนเลือกในรูปแบบการอภิปราย
      10 - อีสานศึกษาในเอกสารฝรั่งเศส 3
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      - แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยภาษาไทยและภาษาตะวันตกเกี่ยวกับสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมของอีสานและตอบคำถามจากใบงาน โดยมีผู้สอนเป็นผู้ช่วยแนะนำ / KKU E-learning และ Google Classroom
      - นำเสนอหัวข้อที่กลุ่มผู้เรียนเลือกในรูปแบบการอภิปราย
      11-14 - การเสนอโครงงานไทยศึกษาและอีสานศึกษา
      - การรายงานความก้าวหน้าโครงงาน
      12
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • C1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      - นำเสนอโครงงานและความก้าวหน้าของการศึกษา : ความสำคัญของโครงงานศึกษา วัตถุประสงค์ อุปสรรคและปัญหาระหว่างการดำเนินการ การแก้ไขปัญหาต่างๆ
      - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามและอภิปรายประเด็นที่น่าสนใจหรือสงสัยในระหว่างผู้เรียน โดยมีผู้สอนคอยให้คำแนะนำ
      15 - นำเสนอโครงงาน
      - สรุปผลการเรียนรู้
      3
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • C2: มีความตระหนักในการนำผลการศึกษาจากโครงงานไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาในเชิงวิชาการหรือเชิงวิชาชีพ
      - นำเสนอผลการศึกษาจากโครรงงานแบบปากเปล่าต่อหน้าที่ประชุมทั้งแบบปกติและแบบระยะไกล กลุ่มละ 15 นาที
      - ซักถามและอภิปรายประเด็นที่สนใจหรือสงสัยโดยผู้เรียนคนอื่นๆ / KKU E-learning และ Google Classroom
      - ผู้สอนให้ข้อเสนอแนะในการนำโครงงานที่นำเสนอไปต่อยอดเพื่อพัฒนา
      - ผู้เรียนให้ข้อเสนอแนะสำหรับการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การมีส่วนร่วมในการอภิปราย
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • A1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      15 ทั้งการอภิปรายในกลุ่มและการตั้งคำถามระหว่างกลุ่ม
      แบบฝึกหัดและใบงาน
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      25 สัปดาห์ที่ 7 9 และ 10
      การเสนอโครงงานและการรายงานความก้าวหน้า
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • A1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      20 เริ่มยื่นเสนอโครรงานหลังสัปดาห์ที่ 5 เสร็จสิ้น
      นำเสนอรายงานสองครั้งหลังโครงงานได้รับการอนุมัติ
      การนำผลการศึกษาโครงงาน
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • A2: มีความตระหนักในการนำผลการศึกษาจากโครงงานไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาในเชิงวิชาการหรือเชิงวิชาชีพ
      20 นำเสนอปากเปล่าในสัปดาห์สุดท้ายของการเรียน
      รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต การเมืองและการค้าระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไทยศึกษาและอีสานศึกษาในเอกสารภาษาฝรั่งเศส
      • S1: วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทยมีความสัมพันธ์กันโดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร์
      • S2: วิเคราะห์ภาพสังคม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษาและวัฒนธรรมในดินแดนไทยและอีสานที่ปรากฎในเอกสาร บันทึก สิ่งพิมพ์ของนักวิชาการฝรั่งเศสโดยอาศัยวิธีวิทยาภาษาศาสตร์ประยุกต์กับหลักการทางมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
      • S3: สื่อสารและนำเสนอโครงงานด้วยภาษาฝรั่งเศสเชิงวิชาการ
      • A1: มีคุณธรรมจริยธรรมในการอ่านและตีความเอกสาร
      • A2: มีความตระหนักในการนำผลการศึกษาจากโครงงานไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาในเชิงวิชาการหรือเชิงวิชาชีพ
      20 นำส่งภายในสัปดาห์สุดท้ายของการสอบปลายภาค
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา กันตพงศ์ จิตต์กล้า. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา HS734803 ความสัมพันธ์ฝรั่งเศส-ไทย. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อยู่ระหว่างการเรียบเรียง)
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม กรรณิกา จรรย์แสง, บรรณาธิการ. (2542). ยอร์ช เซเดส์กับตะวันออกศึกษา : รวมบทความแปล. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ กรรณิกา จรรย์แสงและคณะ. (2545). สถานภาพเอกสารด้านฝรั่งเศส-ไทยศึกษาในประเทศไทย จนถึงปี พ.ศ. 2536. นครปฐม : ภาควิชาภาษาฝรั่งเศส คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ กรรณิการ์ จรรย์แสง, เพ็ญศิริ เจริญพจน์, บรรณาธิการ. (2546). ยอร์ช เซเดส์ กับไทยศึกษา: รวมบทความแปล.นครปฐม : ศูนย์ข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัยฝรั่งเศส-ไทยศึกษา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
      หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล ซิมอน เดอ ลา ลูแบร์. (2548). จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม/แปลจากภาษาฝรั่งเศสโดย สันต์ ท.โกมลบุตร. นนทบุรี : ศรีปัญญา.
      บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, กรรณิกา จรรย์แสง, บรรณาธิการ. (2548). ร. แลงกาต์ กับไทยศึกษา : รวมบทความแปล และบทความศึกษาผลงาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ : ศูนย์ข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัยฝรั่งเศส-ไทยศึกษา.
      หนังสือ หรือ ตำรา หลุยส์ กาโบด, เพ็ญศิริ เจริญพจน์, บรรณาธิการ. (2551). สืบสัมพันธ์ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส = La Thaïlande : Continuité du partenariat avec la France. กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม
      หนังสือ หรือ ตำรา Chitkla, Kantaphong. (2019). Une stratégie élitiste d’évangélisation au Siam : de la louange du roi à la louange de Dieu. Thèse de Doctorat : Littératures et civilisations : INALCO-Paris.
      หนังสือ หรือ ตำรา Hennequin, Laurent. (2006). Thaïlande - Ressources documentaires françaises. Paris-Bangkok : Les Indes Savantes-Irasec.
      หนังสือ หรือ ตำรา Jean-Francois Klein, Alexis Thuaux et Sophie Trelcat. (2015). La résidence de France à Bangkok = ทำเนียบเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส ณ กรุงเทพมหานคร. Paris : Éditions internationales du Patrimoine.
      หนังสือ หรือ ตำรา La Loubère, Simon de. (1691). Du Royaume de Siam ; Tome Premier et Seconde. Paris : Chez Jean-Baptiste Coignard.
      หนังสือ หรือ ตำรา M. et Mme Émile Jottrand. (1905). Au Siam : journal de voyage de M. et Mme Émile Jottrand. 2e édition. Paris : Librairie Plon.
      หนังสือ หรือ ตำรา Pallegoix. Jean-Baptiste. (1854). Description du Royaume Thaï ou Siam; tome I et II. Paris : Se vend au profit de la Mission.
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ KKU e-Learning : HS734803 : French-Thai Relations
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Google classroom : HS734803 : French-Thai Relations
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ เอกสารโบราณและบันทึกของมิชชันนารีฝรั่งเศส Institut de recherche France-Asie (https://www.irfa.paris/fr/Nos%20ressources/Periodiques) และ (http://bibliotheque.mepasie.org/)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ เอกสารเกี่ยวกับลายผ้าสยามมวซส์ Manufactures à Rouen // 1737 // Siamoises : [échantillons de tissus] (https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/btv1b6936129c/f1.item)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ พจนานุกรมฝรั่งเศส-ไทยฉบับเก่าแก่ อาทิ พจนานุกรมฝรั่งเศส-ไทยและข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับภาษาและไวยากรณ์ภาษาไทยฉบับลูเน่ต์ เดอ ลาฌงกิแยร์ (https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k63633669.r=Litt%C3%A9ratures%20siamoises?rk= 85837;2)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Projet de la loi adoptée par la chambre de députés portant approbation de la convention conclue à Bangkok, le 25 août 1926, entre la France et le Siam. (https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k6566086f/f2.item.r=commerce%20au%20Siam)
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้ ดังนี้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
      2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
      2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

      3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
      4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
      4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
      4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

      5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
      5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ