Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS734811
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาฝรั่งเศสสำหรับการล่าม
ภาษาอังกฤษ
English name
French for Interpretation
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS733109#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • ผู้เรียนอธิบายหลักการล่าม ประเภทและเทคนิคการล่าม รวมถึงจรรยาบรรณของล่ามได้
    • ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    จริยธรรม
    Ethics
    • ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    ทักษะ
    Skills
    • ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    ลักษณะบุคคล
    Character
    • ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
         Description of Subject Course/Module
    ภาษาไทย
    Thai
    ประวัติการล่าม ประเภทการล่าม จรรยาบรรณของล่าม หลักการและทฤษฎี ทางภาษาสำหรับการล่าม การฝึกปฏิบัติล่าม การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหา
    ภาษาอังกฤษ
    English
    History of interpretation, ethics of Interpreter, principles and linguistic theories for interpretation and interpreting practice, problem analysis and solutions
    6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
         Delivery mode and Learning management Method
    รูปแบบ
    Delivery mode
    • Blended learning
    รูปแบบการจัดการเรียนรู้
    Learning management Method
    • Content and language integrated learning
    • Task-based learning
    7. แผนการจัดการเรียนรู้
         Lesson plan
    สัปดาห์ที่
    Week
    หัวข้อการสอน
    Teaching topics
    จํานวน
    ชั่วโมง
    Number of hours
    CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
    Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
    ทฤษฎี ปฏิบัติ
    1-2 - แนะนำรายวิชา
    - การล่ามและการแปลต่างกันอย่างไร
    - การล่าม 5 ลักษณะตามบริบทฝรั่งเศส
    - งานล่ามฝรั่งเศสในบริบทไทย
    - หลักการ จรรยาบรรณ และเทคโนโลยีสำหรับการล่าม
    - ฝึกปฏิบัติการล่ามเบื้องต้นครั้งที่ 1
    6
    • K1: ผู้เรียนอธิบายหลักการล่าม ประเภทและเทคนิคการล่าม รวมถึงจรรยาบรรณของล่ามได้
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • E1: ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    - แนะนำรายวิชาโดยใช้ มคอ. 3
    - บรรยาย อภิปรายและมอบหมายชิ้นงาน
    - นักศึกษานำเสนอการค้นคว้าประเภทของการล่าม ขอบข่ายหน้าที่ จรรยาบรรณของล่าม ระเบียบข้อบังคับของล่ามในประเทศไทย
    - ผู้สอนบรรยายเกี่ยวกับประวัติการล่ามฝรั่งเศส-ไทย ขอบข่ายหน้าที่และจรรยาบรรณของล่ามในฝรั่งเศส
    - ฝึกปฏิบัติการล่ามเบื้องต้นครั้งที่ 2
    3-6 การเพิ่มพูนคำศัพท์ด้านกฎหมายในชีวิตประจำวันเพื่อการปฏิบัติล่าม
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์เพื่อการล่ามสำหรับยื่นขอเอกสารการเดินทาง
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์เพื่อการล่ามสำหรับการเข้าเมืองและการพำนักระยะยาว
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์เพื่อการล่ามสำหรับการยื่นขอประกันสุขภาพ
    - การฝึกปฏิบัติการล่ามจากฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศส ครั้งที่ 3 และ 4
    - แต่ละกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาและบอกแนวทางแก้ไข
    - ร่วมกันสรุปประเด็น
    12
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • S1: ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    • C1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • C2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    - ศึกษาเอกสาร ทำใบงาน
    - ชมคลิปวิดีโอและสรุปผลการเทียบเคียงคำศัพท์ฝรั่งเศส-ไทยและไทยฝรั่งเศส
    -การฝึกปฏิบัติการล่ามจากฝรั่งเสสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศส ครั้งที่ 3และ4
    7-9 การเพิ่มพูนคำศัพท์ด้านธุรกิจและเทคโนโลยีเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์ด้านเทคนิค กรรมวิธีปรุงอาหารและบรรจุภัณฑ์
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์ด้านการดำเนินธุรกิจการอาหาร
    - การฝึกปฏิบัติการล่ามจากฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศส ครั้งที่ 5 และ 6
    9
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • S1: ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    • C2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    - ศึกษาเอกสาร ทำใบงาน
    - ชมคลิปวิดีโอและสรุปผลการเทียบเคียงคำศัพท์ฝรั่งเศส-ไทยและไทยฝรั่งเศส
    - การฝึกปฏิบัติการล่ามจากฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศส ครั้งที่ 5 และ 6
    - แต่ละกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาและบอกแนวทางแก้ไข
    - ร่วมกันสรุปประเด็น
    - สอบเก็บคะแนน
    10-13 การเพิ่มพูนคำศัพท์ด้านการดูแลสุขภาพและการแพทย์
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะต่างๆในร่างกาย
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์เกี่ยวกับโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและโรคในเขตร้อน
    - การเพิ่มพูนคำศัพท์เกี่ยวกับการไปพบแพทย์ การรักษาและติดตามอาการ
    - การฝึกปฏิบัติการล่ามจากฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศส ครั้งที่ 7 และ 9
    12
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • S1: ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    • C2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    - บรรยายแนวคิด หลักการ ลักษณะเฉพาะของล่ามพูดตาม
    - แบ่งกลุ่มเพื่อเลือกหัวข้อการล่ามในสาขาวิชาที่กำหนดให้
    - ฝึกปฏิบัติการล่ามพูดตามจากฝรั่งเศสเป็นไทย และ จากไทยเป็นฝรั่งเศส
    - แต่ละกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาและบอกแนวทางแก้ไข
    - ร่วมกันสรุปประเด็น
    14-15 ฝึกปฏิบัติการล่ามแบบพลัน 6
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • S1: ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • C2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    - ฝึกปฏิบัติการล่ามพูดตามฝรั่งเศส-ไทย และไทย-ฝรั่งเศส ตามหัวข้อที่ผู้เรียนจับฉลากได้ในชั่วโมงเรียนนั้นๆ
    - ร่วมอภิปรายปัญหาการล่ามและเสนอแนวทางแก้ไข
    รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
    8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
         Course assessment
    วิธีการประเมิน
    Assessment Method
    CLO สัดส่วนคะแนน
    Score breakdown
    หมายเหตุ
    Note
    การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็น การส่งชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • A1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    10
    ใบงาน แบบฝึกหัด
    • K1: ผู้เรียนอธิบายหลักการล่าม ประเภทและเทคนิคการล่าม รวมถึงจรรยาบรรณของล่ามได้
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    20
    การฝึกปฏิบัติการล่ามในบริบทต่างๆ
    • K1: ผู้เรียนอธิบายหลักการล่าม ประเภทและเทคนิคการล่าม รวมถึงจรรยาบรรณของล่ามได้
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • K3: ผู้เรียนแสดงประมวลคำศัพท์ที่ใช้ในการล่ามเกี่ยวกับการยื่นขอวีซ่า การตรวจคนเข้าเมือง งานบริการร้านอาหาร การดูแลสุขภาพและการแพทย์ได้
    • S1: ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    • A1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    40 การฝึกปฏิบัติแบ่งออกเป็น 4 ครั้งๆ ครั้งละ 10 คะแนน
    เป็นหัวข้อที่ผู้สอนกำหนดให้ โดยมีการเตรียมวงคำศัพท์มาล่วงหน้า 5 วัน จำนวน 2 ครั้ง
    และเป็นหัวข้อที่จับฉลากฌโดยมีเวลาเตรียม 30 นาที จำนวน 2 ครั้ง
    การทดสอบภาคปฏิบัติ
    • K2: ผู้เรียนระบุหลักการและทฤษฎีทางภาษาสำหรับการล่าม การปฏิบัติหน้าที่ล่าม การวิเคราะห์และแก้ปัญหาได้
    • S1: ผู้เรียนกำหนดแนวทาง เทคนิค และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของการทำงานล่ามแต่ละประเภทได้
    • S2: ผู้เรียนบูรณาการทฤษฎีทางการล่ามกับการสื่อสารระหว่างบุคคลได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
    • S3: ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อประโยชน์ต่อการล่ามจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
    • E1: ผู้เรียนชี้แจงจรรยาบรรณพื้นฐานและระดับการรักษาความลับของล่ามได้
    • A1: ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    • A2: ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง
    30 การทดสอบแบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือสิ้นสุดการเรียนการสอนสัปดาห์ที่ 9 และ 15
    สัดส่วนคะแนนรวม 100
    9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
         Textbook and instructional materials
    ประเภทตำรา
    Type
    รายละเอียด
    Description
    ประเภทผู้แต่ง
    Author
    ไฟล์
    File
    หนังสือ หรือ ตำรา Seleskovitch, D. (1975). Langage, langues et mémoire : étude de la prise de notes en interprétation consécutive. Paris : Lettres Modernes Minard. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Seleskovitch, D. & Lederer, M. (1984). Interpréter pour traduire. Paris : Didier Érudition. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา Pooput, W. & Conjeaud, M. (2000). Pratique du Thaï. Paris : Langues & Mondes-L'Asiathèque. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ ธารทิพย์ แก้วทิพย์. (2545). "การแปลแบบล่าม: แนวคิดเชิงทฤษฎีและวิธีปฏิบัติ" วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน พ.ศ. 2545, หน้า 26-42 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    หนังสือ หรือ ตำรา สำนักการต่างประเทศ สำนักงานศาลยุติธรรม. (2562). คู่มือล่ามศาลในคดีค้ามนุษย์. มปท.
    https://oia.coj.go.th/th/file/get/file/20200722d41d8cd98f00b204e9800998ecf8427e155722.pdf
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Fowler, Y. (2013). Non-English-speaking defendants in themagistrates court: a comparative study of face-to-face and prison video link interpreter-mediated hearings in England. Ph.D. Dissertation : Translation & Interpretation Studies : Aston University, United Kingdom. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ พอฤทัย ปราดเปรียว. (2555) . ล่าม...ใครว่าสบาย!!!
    https://www.gotoknow.org/posts/33114
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ไรอัน สุน. (2564). วิธีแก้ปัญหา เมื่อผู้ให้ล่าม บอกว่าเราซึ่งเป็นล่ามแปลไม่ครบ
    https://www.ryansunsensei.com/archives/943
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube JITT Episode 68 ปัญหาและแนวทางการแก้ไขในงานล่าม
    (คลิบบันทึกการอบรมของชมรมล่ามและนักแปลภาษาญี่ปุ่น)
    https://www.youtube.com/watch?v=4X1BmV3bGoQ
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    YouTube เล่าเรื่องล่าม EP.4 ล่ามภาษาฝรั่งเศส | FENDY TALK PODCAST
    https://www.youtube.com/watch?v=7OohyTZsvKs
    อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
    10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
         Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
    Evaluation of course effectiveness and validation
    • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
    • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
    การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
    Improving Course instruction and effectiveness
    • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
    • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
    ผลการเรียนรู้
    Curriculum mapping
    1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

    1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
    1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
    1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
    1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
    1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

    2. ด้านความรู้ ดังนี้
    2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
    2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
    2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
    2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
    2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

    3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
    3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
    3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

    4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
    4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
    4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
    4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
    4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

    5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
    5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
    5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
    5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ