Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS734401
ภาษาไทย
Thai name
การแปลภาษาฝรั่งเศสเฉพาะทาง
ภาษาอังกฤษ
English name
French Translation for Specific Purposes
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS733110#หรือHS703302#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง 2560)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษาอธิบายวิธีการและเทคนิคการแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศสสำหรับงานเอกสารเฉพาะทางได้
  • นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
จริยธรรม
Ethics
  • นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
ลักษณะบุคคล
Character
  • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
การแปลภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและการแปลภาษาไทยเป็นภาษาฝรั่งเศส การแปลเอกสารทางราชการ เอกสารทางธุรกิจและการทำธุรกรรมดิจิทัล เอกสารทางประวัติศาสตร์ วรรณกรรมประเภทต่าง ๆ
ภาษาอังกฤษ
English
French-Thai & Thai-French translation; official documents, business documents & digital transactions, historical documents and literary works in various forms
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Content and language integrated learning
  • Task-based learning
  • Project-based learning
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1-3 1. หลักการแปลและการถ่ายทอดความหมาย
- กลวิธีการอ่านตัวบทและการจำแนกประเภทตัวบทเพื่อทำความเข้าใจต้นฉบับ
- ลักษณะเฉพาะการแปลภาษาฝรั่งเศสเป็นไทย
- ลักษณะเฉพาะการแปลภาษาไทยเป็นภาษาฝรั่งเศส
- การขัดเกลาสำนวนให้สอดคล้องกับประเภทงานเขียน
2. การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยแปล
- การเลือกใช้เครื่องมือช่วยค้นหาความรู้เสริมกับตัวบทที่นำมาแปล
- การใช้เครื่องมือช่วยแปลและพจนานุกรมออนไลน์ในการถอดความหมายและความคิดของต้นฉบับ
9
  • K1: นักศึกษาอธิบายวิธีการและเทคนิคการแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศสสำหรับงานเอกสารเฉพาะทางได้
  • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- ชี้แจงสังเขปรายวิชา ข้อตกลงเบื้องต้น การทำโครงงาน
- อธิบายเรื่องหลักการแปลและการถ่ายทอดความหมาย ตอบข้อซักถาม
- ทำกิจกรรมฝึกทักษะการแปลฝรั่งเศส-ไทยและไทย-ฝรั่งเศส
- ตรวจทานงานแปลในชั้นเรียน
- ทำกิจกรรมในใบงานที่มอบหมายผ่านช่องทาง Google Classroom
- นำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย ร่วมกันตรวจแก้บทแปล
- ร่วมสรุปเทคนิคการแปลพร้อมบอกแนวทางแก้ปัญหางานแปลฝรั่งเศส-ไทยและไทย-ฝรั่งเศส
- อธิบายเรื่องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยแปล
- ฝึกปฏิบัติการแปลโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่หลากหลาย ร่วมกันตรวจทานงานแปลในชั้นเรียน
- หลังเสร็จสิ้นการเรียนชั่วโมงที่ 9 ให้นักศึกษาเลือกเสนอประเภทเอกสารที่สนใจเพื่อนำมาทำโครงงาน
4-6 การแปลเอกสารทางราชการฝรั่งเศสและไทย
- เอกสารทะเบียนราษฎร์
- เอกสารประกอบการยื่นขอสัญชาติ
- เอกสารประกอบการจดทะเบียนสมรส
- เว็บไซต์หน่วยงานที่ให้บริการด้านงานเอกสารทะเบียนราษฎร์
- การนิติกรเอกสารทางราชการ
9
  • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- รับฟังบรรยายเรื่องการแปลเอกสารทางราชการฝรั่งเศสและไทย และการนิติกรเอกสารทางราชการจากวิทยากร
- ทำกิจกรรมฝึกทักษะการแปลเอกสารทางราชการฝรั่งเศส-ไทยและไทย-ฝรั่งเศส
- ตรวจทานงานแปลในชั้นเรียน
- ทำกิจกรรมในใบงานที่มอบหมายผ่านช่องทาง Google Classroom
- นำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย ร่วมกันตรวจแก้บทแปล
- สรุปเทคนิคการแปลพร้อมบอกแนวทางแก้ปัญหางานแปลเอกสารทางราชการ
- ทดสอบย่อย
7-9 การแปลเอกสารทางธุรกิจและธุรกรรมดิจิทัลฝรั่งเศสและไทย
- เอกสารธุรกิจสายการบิน
- เอกสารงานบริการโรงแรมและร้านอาหาร
- เอกสารด้านประกันภัยและประกันสุขภาพ
- เอกสารด้านการเงิน การคลัง และการธนาคาร
9
  • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- อธิบายเรื่องการแปลเอกสารทางธุรกิจและธุรกรรมดิจิทัลฝรั่งเศสและไทย
- แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดการแปลเอกสารที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจและธุรกรรมดิจิทัล ตรวจทานงานแปลในชั้นเรียน
- ทำกิจกรรมในใบงานที่มอบหมายผ่านช่องทาง Google Classroom
- นำเสนองานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
- ร่วมสรุปเทคนิคการแปลและแนวทางแก้ไขปัญหาในการแปลเอกสารทางธุรกิจและธุรกรรมดิจิทัล
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักแปลผู้มีประสบการณ์เฉพาะทาง
- ทดสอบย่อย
10-11 การแปลเอกสารทางประวัติศาสตร์
- การแปลบันทึกการเดินทางของมิชชันนารีและนักเดินทาง
- การแปลเอกสารและบันทึกทางทหาร
6
  • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
- อธิบายเรื่องการแปลเอกสารทางประวัติศาสตร์ ตอบข้อซักถาม
- แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัด
- ตรวจทานงานแปลในชั้นเรียน
- ทำกิจกรรมในใบงานที่มอบหมายผ่านช่องทาง Google Classroom
- นำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
- ร่วมสรุปเทคนิคการแปลและแนวทางแก้ไขปัญหาในการแปลเอกสารทางประวัติศาสตร์
- ทดสอบย่อย
12-13 การแปลวรรรณกรรม
- การแปลบทละคร
- การแปลเรื่องสั้น
- การแปลบทร้อยกรอง
6
  • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
- อธิบายเรื่องการแปลวรรณกรรม ตอบข้อซักถาม
- แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัด
- ตรวจทานงานแปลในชั้นเรียน
- ทำกิจกรรมในใบงานที่มอบหมายผ่านช่องทาง Google Classroom
- นำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
- ร่วมสรุปเทคนิคการแปลและแนวทางแก้ไขปัญหาในการแปลวรรณกรรม
- ทดสอบย่อย
14-15 การรายงานความก้าวหน้าและนำเสนอโครงงานแปล 6
  • K1: นักศึกษาอธิบายวิธีการและเทคนิคการแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศสสำหรับงานเอกสารเฉพาะทางได้
  • K2: นักศึกษาวิเคราะห์ประเภทเอกสารและลักษณะเฉพาะทางภาษา อธิบายอุปสรรคในการถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรมในตัวบทฉบับแปลได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- สัปดาห์ที่ 14 นำเสนอผลงานแปลรอบที่ 1
- ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับงานแปล และเสนอแนะแนวทางแก้ไข
- สัปดาห์ที่ 15 นำเสนอผลงานแปลรอบที่ 2
- ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับงานแปล และเสนอแนะแนวทางแก้ไขรอบสุดท้าย
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การนำเสนอในชั้นเรียน
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
งานกลุ่ม
  • K1: นักศึกษาอธิบายวิธีการและเทคนิคการแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศสสำหรับงานเอกสารเฉพาะทางได้
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
10
แบบฝึกหัด ใบงาน
งานเดี่ยว
งานกลุ่ม
  • K1: นักศึกษาอธิบายวิธีการและเทคนิคการแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศสสำหรับงานเอกสารเฉพาะทางได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
20
สอบย่อยประจำบท
งานเดี่ยว
  • K1: นักศึกษาอธิบายวิธีการและเทคนิคการแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นไทยและไทยเป็นฝรั่งเศสสำหรับงานเอกสารเฉพาะทางได้
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
40 สอบย่อย 4 ครั้ง ครั้งละ 10 คะแนน
โครงงานแปลเอกสารที่นักศึกษาสนใจ
  • S1: นักศึกษาประยุกต์ใช้หลักภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ข้อคำนึงด้านวัฒนธรรม และศิลปะการใช้ภาษามาถ่ายทอดบทแปลได้ตรงกับรูปแบบการใช้งานตามประเภทเอกสาร
  • S2: นักศึกษาเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อแสวงหาความรู้และเลือกเครื่องมือช่วยแปลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับประเภทเอกสาร
  • E1: นักศึกษาบอกจรรยาบรรณของการเป็นนักแปลที่ดีได้
  • C1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
30 ผู้เรียนจะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ประจำวิชาการลงมือแปลชิ้นงาน
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
เอกสารประกอบการสอน กันตพงศ์ จิตต์กล้า. (2555). เอกสารประกอบการสอนวิชา 417 452 การแปลฝรั่งเศสเป็นไทย 2. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
หนังสือ หรือ ตำรา Michaël Oustinoff. (2003). La Traduction. Paris : Presses Universitaires de France. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี. (2562). ภาษาวัฒนธรรมกับการแปล : ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุพรรณี ปิ่นมณี. (2564). ความหมายกับการแปล : ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล จิระพรรษ์ บุณยเกียรติ และคณะ. (2540). ศาสตร์การแปล : รวมบทความเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โครงการศูนย์การแปล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล มาลี มุกดาประกร. (2544). พจนานุกรมศัพท์ธุรกิจ ไทย-ฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2548). คำอธิบายศัพท์กฎหมายมหาชนฝรั่งเศส-ไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา วิภาวรรณ ตุวยานนท์ และ ฌ็อง โกลด บรอดเบ็ค. (2533). ศัพท์สำนวนฝรั่งเศส-ไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือพจนานุกรม หรือหนังสือแปล ภาควิชาภาษาฝรั่งเศส คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2541).เหนือภาษาและกาลเวลา Par-delà les langues et le temps. กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรศาสตร์.
หนังสือ หรือ ตำรา Danika Seleskovitch. (1975). Langage, langue et mémoire. Paris : Lettres Moderne Minard. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Jean Brauns. (1981). Comprendre pour traduire : perfectionnement linguistique en français. Paris : La Maison du Dictionnaire. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ กันตพงศ์ จิตต์กล้า. (2556). การแปลฝรั่งเศสเป็นไทย : การแปลเอกสารเกี่ยวกับธุรกิจการบิน, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30 (3) กันยายน - ธันวาคม 2556, หน้า 1-30. อาจารย์ภายในคณะ
บทความ การแปลด้านธุรกิจการบิน.pdf
หนังสือ หรือ ตำรา Chambre de Commerce et d'Industrie de Paris. (2009). Le Français juridique. Paris : Hachette - Français Langue Étrangère. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ