Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาภาษาตะวันตก
Western Language
วิชาเอก
Major
วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
French
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS734809
ภาษาไทย
Thai name
ภาษาฝรั่งเศสด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ภาษาอังกฤษ
English name
French for Health Sciences
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
Pre-requisite
HS732108#
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาเลือก (Elective Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันตก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส (หลักสูตรปรับปรุง 2560)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • อาจารย์กันตพงศ์ จิตต์กล้า
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • บอกความหมายของวิทยาศาสตร์สุขภาพและระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
จริยธรรม
Ethics
  • ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
ทักษะ
Skills
  • สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • ตีความอาการเจ็บป่วยจากกริยาท่าทางของผู้ป่วย
  • ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
  • สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
ลักษณะบุคคล
Character
  • แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
คำศัพท์ สำนวน และการใช้ภาษาฝรั่งเศสเกี่ยวกับองค์ประกอบการสื่อสารสำหรับการดูแลสุขภาพ การสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์และการรักษาโรคเบื้องต้น
ภาษาอังกฤษ
English
Vocabulary, expressions and usage in French related to components of communication in health care, public health,medical service and primary medical care
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Blended learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Content and language integrated learning
  • Task-based learning
  • Project-based learning
  • Flipped classroom
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 - แนะนำรายวิชา ร่วมกันสรุปข้อตกลงในการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
- Qu'est-ce que les sciences de la santé et les sciences médicales ?
- Les unités de service de la santé en Thaïlande et en France
3
  • K1: บอกความหมายของวิทยาศาสตร์สุขภาพและระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • S4: สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
กิจกรรมในชั้นเรียน
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างทางภาษาและตอบคำถาม
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- มอบหมายงานหัวข้อให้ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอในคาบถัดไป
- นำเสนอเรื่องหน่วยงานบริการทางการแพทย์ไทย-ฝรั่งเศส
2-3 - อักษรย่อ คำย่อฝรั่งเศส-ไทยด้านการแพทย์
- รากศัพท์ วิภัติ ปัจจัยสำหรับคำศัพท์ด้านการแพทย์

6
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
กิจกรรมในชั้นเรียน
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างทางภาษาและตอบคำถาม
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- เขียนตามคำบอก และทดสอบย่อย
- มอบหมายให้ทำคลิปวิดีโอเรื่อง ศัพท์สุขภาพน่ารู้ ตอนที่ 1
4-6 - อวัยวะภายนอก : ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
- อวัยวะภายใน : ส่วนสูบฉีดโลหิต ส่วนหายใจ ส่วนย่อยอาหาร ส่วนกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหว ส่วนประสาทและการรับรู้ ส่วนทางเดินปัสสาวะ ส่วนต่อมต่างๆ ส่วนการรับรู้สัมผัส และส่วนสืบพันธ์ุ
9
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
กิจกรรมในชั้นเรียน
- ทบทวนความรู้เดิม
- ฟังคลิปเสียง ดูวิดีทัศน์ กิจกรรมตอบคำถาม
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างทางภาษา
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- รับฟังบรรยายจากอาจารย์พิเศษ
- มอบหมายหัวข้อเรื่องอวัยวะภายในให้ผู้เรียนค้นคว้าเพิ่มเติม
- มอบหมายให้ทำคลิปวิดีโอเรื่อง ศัพท์สุขภาพน่ารู้ ตอนที่ 2
7-8 บุคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาล
- แพทย์ : แพทย์ แพทย์เฉพาะทาง แพทย์ประจำโรงพยาบาล แพทย์ผู้ช่วย แพทย์ฝึกหัด
- บุคลากรสนับสนุนทางการแพทย์ : พยาบาล-บุรุษพยาบาล เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ นักพยาธิและปรสิตวิทยา นักโภชนบำบัด นักกายภาพบำบัด นักรังสี เภสัชกร
6
  • K4: อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S4: สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
กิจกรรมในชั้นเรียน
- ทบทวนความรู้เดิม
- ฟังบทสนทนาและตอบคำถาม
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้าง
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- การแสดงบทบาทสมมติ
- มอบหมายให้ทำคลิปวิดีโอเรื่อง ศัพท์สุขภาพน่ารู้ ตอนที่ 3
9-10 การสอบถามอาการคนไข้
- สาเหตุการมาพบแพทย์
- ประวัติคนไข้ การรักษา การผ่าตัด การแพ้ยาและสารต่างๆ พันธุกรรม
- ลักษณะนิสัย
- วิถีชีวิต
- อาการหลงลืม
6
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • E1: ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
กิจกรรมในชั้นเรียน
- ทบทวนความรู้เดิม
- ฟังคลิปเสียง ดูวิดีทัศน์และตอบคำถาม
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้าง
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- การแสดงบทบาทสมมติ
- มอบหมายให้ทำคลิปวิดีโอเรื่อง ศัพท์สุขภาพน่ารู้ ตอนที่ 4
11-12 การตรวจคนไข้
- การตรวจชีพจร
- การตรวจปอด
- การตรวจช่องท้อง
- การตรวจประสาทการรับรู้
- การตรวจผิวหนัง เป็นต้น
6
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S2: ตีความอาการเจ็บป่วยจากกริยาท่าทางของผู้ป่วย
  • S3: ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
  • S4: สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
  • E1: ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
กิจกรรมในชั้นเรียน
- ทบทวนความรู้เดิม
- ฟังคลิปเสียง ดูวิดีทัศน์และตอบคำถาม
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้าง
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- การแสดงบทบาทสมมติ
- มอบหมายให้ทำคลิปวิดีโอเรื่อง ศัพท์สุขภาพน่ารู้ ตอนที่ 5
13-14 การสังเกตุอาการและการหาข้อมูลประกอบการรักษา
- การดูผลเลือด ปัสสาวะและสารคัดหลั่ง
- การผลเอ็กซ์เรย์
- การนอนสังเกตุอาการและให้สารวิตามิน
6
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S2: ตีความอาการเจ็บป่วยจากกริยาท่าทางของผู้ป่วย
  • S3: ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
  • E1: ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
กิจกรรมในชั้นเรียน
- ทบทวนความรู้เดิม
- ฟังคลิปเสียง ดูวิดีทัศน์และตอบคำถาม
- อธิบายตัวบท คำศัพท์ สำนวน โครงสร้าง
- ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบความเข้าใจใน Google Classroom
- การแสดงบทบาทสมมติ
- มอบหมายให้ทำคลิปวิดีโอเรื่อง ศัพท์สุขภาพน่ารู้ ตอนที่ 5
15 นำเสนอโครงงานโรงพยาบาลในดวงใจ 3
  • K1: บอกความหมายของวิทยาศาสตร์สุขภาพและระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K4: อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S4: สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
  • E1: ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
นำเสนอโครงการตั้งแต่การแนะนำโรงพยาบาล การติดต่อสอบถาม การประเมินอาการ การส่งพบแพทย์ การสังเกตุอาการ การส่งเจาะเลือดและเอ็กซ์เรย์ การวินิจฉัยโรค และการรักษา
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
  • K1: บอกความหมายของวิทยาศาสตร์สุขภาพและระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K4: อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
10
แบบฝึกหัดและใบงาน
  • K1: บอกความหมายของวิทยาศาสตร์สุขภาพและระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K4: อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S2: ตีความอาการเจ็บป่วยจากกริยาท่าทางของผู้ป่วย
  • S3: ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
  • S4: สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
  • E1: ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
20
สอบย่อย
  • K1: บอกความหมายของวิทยาศาสตร์สุขภาพและระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K4: อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S2: ตีความอาการเจ็บป่วยจากกริยาท่าทางของผู้ป่วย
  • S3: ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
30
โครงงานเรื่อง Medical and Wellness Care
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K4: อธิบายลักษณะสำคัญของอาชีพในสายงานวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S2: ตีความอาการเจ็บป่วยจากกริยาท่าทางของผู้ป่วย
  • S3: ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
  • S4: สืบค้นสารสนเทศและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอข้อมูล
  • E1: ไม่เผยแพร่ข้อมูลการรักษาแก่บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง
  • C1: แสดงออกถึงวินัยและจิตสาธารณะในการให้บริการ
20
สอบปลายภาค
  • K2: บอกความหมายสมบูรณ์ของอักษรย่อและคำย่อภาษาฝรั่งเศส-ไทยที่ใช้ในวงการวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • K3: บอกชื่ออวัยวะภายนอกและภายใน ระบบการทำงานของร่างกาย และการเจ็บป่วย
  • K5: อธิบายขั้นตอนการปฐมพยาบาล การรักษาโรค การป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพโดยใช้ภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S1: สื่อสารกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล การป้องกัน และการดูแลสุขภาพด้วยภาษาฝรั่งเศสระดับ B1 ขึ้นไป
  • S3: ประเมินอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นจากค่าความดัน ค่าเลือดและค่าเอกซเรย์
20
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา Fassier, TH et Talavera-Goy, S. (2023). Le français des mécecins. Grenoble : PUG. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Berdagué, E. (2021). Anatomie et vocabulaire médical. Paris : Vuibert. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Feliks, J. (2018). Il était une fois..., L'Encyclopédie du corps humain. Vanves : Hachette Jeunesse. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Assistance Publique-Hôpitaux de Paris. (2007). Formation Aides-soignants Auxilaires de puériculture. Reuil-Malmaison : Éditions Lamarre. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Chitkla, K. (2023). Je suis en bonne santé. Khon Kaen : Section de Français, Université de Khon Kaen. อาจารย์ภายในคณะ
Je suis en bonne santé ! 809.pdf
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Singhasivanon, V. (2020). Guide des termes médicaux. Bangkok : Mahidol University. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
Guide des termes médicaux.pdf
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือโปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน Chitkla, K. (2023). Initiation au service de la santé. Khon Kaen : Section de Français, Université de Khon Kaen. อาจารย์ภายในคณะ
initiation au service de la santé.pdf
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้ ดังนี้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
2.4 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของอารยธรรมเยอรมัน ฝรั่งเศส สเปน
2.5 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาสเปน หรือภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศส ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

3. ด้านทักษะทางปัญญา ดังนี้
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบกา รณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ดังนี้
4.1 มีภาวะผู้นำ มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
4.3 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้เหมาะสม
4.4 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

5. ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในสาขาวิชาการ/วิชาชีพได้
5.3 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ