Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS422006
ภาษาไทย
Thai name
แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา
ภาษาอังกฤษ
English name
Anthropological Concepts and Theories
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
จริยธรรม
Ethics
  • นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
ลักษณะบุคคล
Character
  • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีวิทยาทางมานุษยวิทยา
แนวคิดและทฤษฎีมานุษยวิทยาในปัจจุบัน และการประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีมานุษยวิทยา
ในการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
ภาษาอังกฤษ
English
Histories and development of concepts, theories, and methods in anthropology; current anthropological concepts and theories; and the application of anthropological concepts and theories in the study of sociocultural phenomena.
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Research-based learning
  • Task-based learning
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 แนะนำรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน
เปิดพรมแดนมานุษยวิทยา
- นิยามของมานุษยวิทยา
- จุดกำเนิดของมานุษยวิทยา
- สาขาย่อยของมานุษยวิทยา
- มโนทัศน์สำคัญในมานุษยวิทยา
- วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
2 รากฐานของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา 3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
3 วิวัฒนาการทางวัฒนธรรม (Cultural Evolutionism) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
4 การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusionism) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
5 ประวัติศาสตร์เฉพาะกรณี (Historical Particularism) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
6 หน้าที่นิยม (Functionalism) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
7 วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ (Culture and Personality) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
8 นิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural ecology) และวิวัฒนาการนิยมแนวใหม่ (Neo-Evolutionism) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
9 โครงสร้างนิยม (Structuralism) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
10 วิทยาศาสตร์ชาติพันธุ์และมานุษยวิทยาการระลึกรู้ (Ethnoscience and Cognitive Anthropology) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
11 มานุษยวิทยาสตรีนิยม (Feminist Anthropology) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
12 มานุษยวิทยายุคหลังทันสมัย (Postmodernist Anthropology) 3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
13 - 14 มานุษยวิทยาโลกาภิวัตน์ 6
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การบรรยาย
- การอภิปราย

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- เอกสารแผนการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
15 - นำเสนอรายงานกลุ่ม
- สรุป
3
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
- การอภิปราย
- การสรุป
- การนำเสนอรายงาน

สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
- PowerPoint
- วิดีโอทาง YouTube
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
สอบกลางภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
30
สอบปลายภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
40
รายงานกลุ่มและการนำเสนอรายงาน
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
  • C2: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
20
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา
  • K2: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและอธิบายการก่อตัวของแนวคิดและพัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาที่สัมพันธ์กับบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการอธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาโดยเชื่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน
  • E1: นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็น อย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
10
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
เอกสารประกอบการสอน จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2564). เอกสารประกอบการสอนวิชาแนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา. ขอนแก่น: กลุ่มวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายในคณะ
หนังสือ หรือ ตำรา ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2545). ผีเจ้านาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา ฉลาดชาย รมิตานนท์ และคณะ (แปล). (2528). แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2560). Relativism. เข้าถึงเมื่อ 31 ก.ย. 2560, จาก http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/128. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา นิติ ภวัครพันธุ์. (2554). พัฒนาการทางวัฒนธรรม-สังคมในมุมมองวิวัฒนาการนิยม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา ยศ สันตสมบัติ. (2540). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุเทพ สุนทรเภสัช. (2553). ทฤษฎีมานุษยวิทยา: พัฒนาการมโนทัศน์พื้นฐานและทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรม (ภาคแรก). กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง.
หนังสือ หรือ ตำรา สุเทพ สุนทรเภสัช. (2553). ทฤษฎีมานุษยวิทยา: พัฒนาการมโนทัศน์พื้นฐานและทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรม (ภาคสอง). กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุเทพ สุนทรเภสัช. (2554). ทฤษฎีมานุษยวิทยา: พัฒนาการมโนทัศน์พื้นฐานและทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรม (ภาคสาม). กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา สุริยา สมุทคุปติ์ และคณะ. (2535). บุญข้าวประดับดินและบุญข้าวสาก: พิธีกรรม ข้าว และมนุษย์ในบริบท ทางสังคม และวัฒนธรรมของอีสาน. ขอนแก่น: ห้องปฏิบัติการทางมนุษยวิทยาของอีสาน ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา อคิน รพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Anonymous. (2017). Postulate of the psychic unity of mankind. Retrieved September 5, 2017, from http://www.anthrobase.com/Dic/eng/def/psychic_unity.htm. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ American Anthropological Association. (2017). What is Anthropology? Retrieved September 6, 2017, from, http://www.americananthro.org. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Barrett, Stanley R. 2000. Anthropology: A Student’s Guide to Theory and Method. Toronto: University of Toronto Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Bernard, Alan. 2004. History and Theory in Anthropology. Cambridge: Cambridge University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Bohannan, Paul and Mark Glazer. (1988). High Points in Anthropology. 2nd ed. New York: Alfred A. Knopf. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Bunzl, Matti. (2004). Boas, Foucault, and the “Native Anthropologist”: Notes towards a Neo-Boasian Anthropology. American Anthropologist, New Series, 106(3), 435-442. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Canadian Anthropology Society. (2017) Fields and subfields of Anthropology. Retrieved September 6, 2017, from https://www.cas-sca.ca/news-and-announcements/anthropology-in-canada. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทความในหนังสือ หรือบทความสารานุกรม Derow, Peter & Robert Parker (ed). (2003). Herodotus and His World: Essays from a Conference in Memory of George Forest. Oxford: Oxford University Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Diah, Nurazzura Mohammad et al. (2014). An Overview of the Anthropological Theories. International Journal of Humanities and Social Sciences, 10(1), 155-164. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม. URL: http://sucheeppost.blogspot.com/2009/05/blog-post_29.html อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ทฤษฎีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม. URL: http://www.kroobannok.com/blog/15082 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยา. URL: http://www.baanjomyut.com/library_2/anthropolog/09.html อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Anthropological Theories: A Guide Prepared by Students for Students, Department of Anthropology,
the University of Alabama. URL: https://anthropology.ua.edu/anthropological-theories.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Anthropological Theories, Department of Anthropology, Minnesota State University. URL: http://www.mnsu.edu/emuseum/cultural/anthropology/theories.html อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Culture, Pennsylvania State University. URL: https://www.courses.psu.edu/ger/ger100_fgg1/supplementary/culture1.html อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
YouTube How Do Cultures Evolve? - featuring Edward Burnett Tylor — Anthropology Theory #. URL: https://www.youtube.com/watch?v=9M7pKi-3o18 อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
YouTube Tales From The Jungle: Malinowski - Part 1 of 6. URL: https://www.youtube.com/watch?v=f22VsAlOwbc อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
YouTube Tales from the Jungle: Margaret Mead. URL: https://www.youtube.com/watch?v=DjGRCi7ewtY อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Darnell, Regna. (1977). History of Anthropology in Historical Perspective. Annual Review of Anthropology, 6, 399-417. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Ellen, Roy. (2010). Theories in Anthropology and ‘Anthropological Theory’. Journal of the Royal Anthropological Institute (N.S.), 16, 387-404. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Encyclopædia Britannica. 2016. Anthropological Linguistics. Retrieved September 29, 2017, from, https://www.britannica.com/science/anthropological-linguistics. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Erickson, Paul A & Murphy, Liam D. 2013. A History of Anthropological Theory. 4th ed. Toronto: University of Toronto Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Eriksen, Thomas Hylland & Nielsen, Finn Sivert. (2001). A History of Anthropology. London: Pluto Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Ferraro, Gary. (2001). Cultural Anthropology: An Applied Perspective. 4th ed. Belmont: Wadsworth/Thomson Learning, Cop. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Goldstein, Michael et al. (2017). Diffusionism and Acculturation. Retrieved December
15, 2017, from http://anthropology.ua.edu/cultures/cultures.php?culture=
Diffusionism%20and%20Acculturation.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Heider, Karl G. (2007). Seeing Anthropology: Cultural Anthropology through Films. 4th ed. Boston: Pearson. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Hicks, Dan. 2013. Four-Field Anthropology: Charter Myths and Time Warps from St. Louis to Oxford. Current Anthropology, 54(6), 753-763. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Knauft, Bruce M. (2006). Anthropology in the Middle. Anthropology Theory, 6(4), 407-430. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Kottak, Conrad Phillip. (2008). Mirror for Humanity: A Concise Introduction to Cultural Anthropology. 6th ed. Boston: McGraw-Hill อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Kroeber, Alfred L. 1948. Anthropology: Race, Language, Culture, Psychology, Prehistory. New York: Harcourt, Brace. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Launay, Robert, ed. (2010). Foundations of Anthropological Theory: From Classical Antiquity to Early Modern Europe. Wiley-Blackwell. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Layton, R. & Kaul, A. R. (2006), American Cultural Anthropology and British Social
Anthropology: Connections and Differences. Anthropology News, 47: 14. doi:10.1525/an.2006.47.1.14.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
บทวิจัย หรือบทความวิชาการ Mascia-Lees, Frances E. et al. (1989). The Postmodernist Turn in Anthropology: Cautions from a Feminist Perspective. Journal of Women in Culture and Society, 15(1), 7-33. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Miller, Daniel. (2018). Digital Anthropology. Retrieved December 6, 2019, from
https://www.anthroencyclopedia.com/entry/digital-anthropology.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Moore, Jerry D. (2009). Visions of Culture: An Introduction to Anthropological Theories and Theorists. 3rd ed. New York, and Oxford: AltaMira Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Nader, Laura. (2019). The Development of Anthropological Idea. Retrieved December
6, 2019, from https://courses.lumenlearning.com/sunyculturalanthropology/chapter/development.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Porth, Eric et al. (2017). Functionalism. Retrived November 21, 2017, from https://anthropology.ua.edu/cultures/cultures.php?culture=Functionalism. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Robbins, Parker. (2010). Boasian Anthropology: Historical Particularism and
Cultural Relativism. Retrieved September 6, 2017, from
http://anthrotheory.pbworks.com/w/pagerevisions/29518607/Boasian%20 Anthropology%3A%20Historical%20Particularism%20and%20Cultural%20Relativism.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Royal Anthropology Institute. (2017). Social and Cultural Anthropology. Retrieved
October 1, 2017, from, (https://www.discoveranthropology.org.uk/about-
anthropology/what-is-anthropology/social-and-cultural-anthropology.html.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Study.com. (2017). Holism in Anthropology: Definition and Examples. Retrieved
October 15, 2017, from, https://study.com/academy/lesson/holism-in-
anthropology-definition-examples.html.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ White, Andy. 2015. Who Founded Four-Field Anthropology? Retrieved September
10, 2017, from http://www.andywhiteanthropology.com/blog/who-founded-four-field-anthropology.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Erickson, Paul A. & Liam D. Murphy. (2021). A History of Anthropological Theory. 6th Edition. Toronto: University of Toronto Press.
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ