รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1 |
- แนะนำรายวิชา วิธีการเรียน การประเมินผล เอกสารและหนังสือประกอบ การเรียน บทที่ 1 - การนำเข้าสู่การเรียนแนวคิดและความคิดทางสังคมวิทยา |
3 |
|
- บรรยาย และแนะนำประมวลรายวิชา - แจกบทความ -นักศึกษาอ่านและอภิปราย และเขียนสรุป -เอกสารแผนการสอน - Power Point |
|
2-3 |
บทที่ 2 การวิพากษ์แนวคิดทางสังคมวิทยา - แนวคิดหลังทันสมัย - การวิพากษ์อภิทฤษฎีทางสังคมวิทยา - การวิพากษ์วิธีการศึกษาแบบประจักษ์นิยมนามธรรมทางสังคมวิทยา |
6 |
|
-บรรยาย - มอบหมายให้นักศึกษาไปค้นคว้าและอ่านเอกสารเพิ่มเติม --การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า - Power Point -เอกสารภาษาอังกฤษตัวอย่างการศึกษาวิจัย |
|
4-5 |
บทที่ 3 ทฤษฎีเชิงวิพากษ์ประเด็น ถกเถียงใหม่ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมแฟนคลับ -ทิศทางของทฤษฎีทางสังคมวิทยา |
6 |
|
- บรรยาย อภิปราย และมอบหมายให้นักศึกษาไปเลือกอ่านงานวิจัย และสังเกตวิธีการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย --การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า - Power Point -เอกสารภาษาอังกฤษตัวอย่างการศึกษาวิจัย |
|
6-7 | บทที่ 4 การศึกษาเรือนร่างของมนุษย์ผ่านแนวคิดการทำให้กลายเป็นสินค้า (commodification) | 6 |
|
- บรรยาย - อภิปราย - มอบหมายให้ให้นักศึกษาค้นคว้าเพื่อนำเสนอและวิพากษ์ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรือนร่างของมนุษย์โดยใช้แนวคิดการทำให้กลายเป็นสินค้า - Power Point - เอกสารวิชาการ - ภาพยนตร์/ละคร/สารคดี |
|
8-9 | บทที่ 5 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางสังคมวิทยากับกับการศึกษาปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ-สังคมในโลกปัจจุบัน | 6 |
|
บรรยาย อภิปราย และมอบหมายให้นักศึกษาไปเลือกอ่านงานวิจัย และสังเกตวิธีการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย - Power Point -เอกสารภาษาอังกฤษตัวอย่างการศึกษาวิจัย |
|
10-11 |
บทที่ 6 ทฤษฎีเชิงวิพากษ์ประเด็นกับความเสี่ยงภัยและสังคมวิทยาความตาย การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางสังคมวิทยา |
6 |
|
-บรรยาย อภิปราย -อภิปรายเนื้อหาจากบทความวิชาการ หรือรายงานวิจัยที่ใช้กรอบแนวคิดทฤษฎี แนวคิด ความเสี่ยงภัยและสังคมวิทยาความตาย - Power Point -เอกสารวิชาการ -ภาพยนตร์/หนังสั้น |
|
12-13 | บทที่ 7 ทฤษฎีวิพากษ์ในประเด็นเพศภาวะ และเพศวิถี | 6 |
|
-บรรยาย อภิปราย และเสนอประเด็นถกเถียงจากข่างปรากฎการณ์ในชีวิตประจำวัน -นักศึกษาชมภาพยนต์สั้น และอ่านเอกสารบทความ อภิปราย ให้ข้อคิดเห็นร่วมกัน - Power Point -เอกสาร งานวิจัย -ข่าว - Youtube |
|
14-15 |
บทที่ 8 สังคมวิทยาการเมืองเชิงวิพากษ์ -การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า |
6 |
|
- บรรยาย - อภิปราย - วิเคราะห์กรณีศึกษา - Power Point - เอกสารตัวอย่างงานวิจัย |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
การค้นคว้าด้วยตนเอง การเข้าชั้นเรียน |
|
10 | นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน |
อ่านบทความวิชาการและการอภิปราย จำนวน 2 บทความ |
|
20 | นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษาในสัปดาห์ที่กำหนด |
การทดสอบในแต่ละหัวข้อ สัปดาห์ที่ 3, 5, 7, 9, 11,13, 15 |
|
70 | นักศึกษาต้องนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษาในสัปดาห์ที่กำหนด |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Agger, Ben. 1998. Critical Social Theories: An Introduction. Boulder, Colorado: Westview Press | อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย | |
หนังสือ หรือ ตำรา | Beck, Ulrich. 1992. Risk Society : Toward A New Modernity, Sage Publications. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา |
Habermas, J. 1983. The Structural transformation of the Public Sphere. translated by Thomas Burger. Cambridge: MIT Press. |
||
หนังสือ หรือ ตำรา | Held, David. 1980. Introduction to Critical Theory: Horkheimer to Habermas. Berkley: University of California Press | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Kellner, Douglas. Critical Theory and the Crisis of Social Theory. (http://www.gseis.ucla.edu/faculty/kellner/kellner.html) | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Michael Foucault. 1966. The Order of Things, translated by Alan Sheridan, New York: Vintage, 1973. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Scholte JA. 2000. Globalisation: A Critical Introduction. Palgrave. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวานิช. 2551. ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Alvesson, Mats. 2002. Postmodernism and Social Research. Buckingham, Philadelphia: Open University Press | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Calhoun, Craig. 1995. Critical Social Theory. Cambridge, Massachusetts: Blackwell Publishers. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | Elliott, Anthony. 2009. Contemporary Social Theory: An Introduction. New York: Routledge. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | กาญจนา แก้วเทพ. Critical Theory การศึกษาสื่อมวลชนด้วยทฤษฎีวิพากษ์ กรุงเทพ: บริษัทแบรนด์เอจ จำกัด | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | จันทนี เจริญศรี. 2544. โพสต์โมเดิร์น & สังคมวิทยา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์วิภาษา. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ไชยันต์ ไชยพร. 2550. Post Modern กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ Openbook | ||
แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ | http://www.midnightuniv.org/ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ