Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS423202
ภาษาไทย
Thai name
กลุ่มชาติพันธุ์ในการเปลี่ยนแปลง
ภาษาอังกฤษ
English name
Ethnic Groups in Transition
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
    3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
         Course Coordinator and Lecturer
    อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
    Course Coordinator
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    อาจารย์ผู้สอน
    Lecturers
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ ศรีหล้า
    • ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
    4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
         Course learning outcomes-CLO
    ความรู้
    Knowledge
    • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
    • มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
    จริยธรรม
    Ethics
      ทักษะ
      Skills
      • นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      ลักษณะบุคคล
      Character
      • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
           Description of Subject Course/Module
      ภาษาไทย
      Thai
      ความหมายของกลุ่มชาติพันธุ์ แนวคิด ทฤษฎี และวิธีวิทยาที่ใช้ในการศึกษากลุ่มชาติ
      พันธุ์ การจำแนกแยะแยะทางชาติพันธุ์และการเมืองว่าด้วยความแตกต่าง สังคม
      พหุวัฒนธรรมกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ กลุ่มชาติพันธุ์กับการพัฒนา การอนุรักษ์
      ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความขัดแย้ง การเคลื่อนย้าย การเคลื่อนไหวทางสังคม
      และการธำรงชาติพันธุ์
      ภาษาอังกฤษ
      English
      Meanings of ethnic group; concepts, theories, and methodology in the study of ethnic groups; ethnic classification and politics of difference; multicultural societies and ethnic diversity; ethnic groups and developments, natural resources and environmental conservation, conflicts, mobilities, social movements, and ethnicity
      6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
           Delivery mode and Learning management Method
      รูปแบบ
      Delivery mode
      • Blended learning
      รูปแบบการจัดการเรียนรู้
      Learning management Method
      • Research-based learning
      • Task-based learning
      • Case discussion
      7. แผนการจัดการเรียนรู้
           Lesson plan
      สัปดาห์ที่
      Week
      หัวข้อการสอน
      Teaching topics
      จํานวน
      ชั่วโมง
      Number of hours
      CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
      Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
      ทฤษฎี ปฏิบัติ
      1 - แนะนำรายวิชา
      - ความหมายของ “ชาติพันธุ์วิทยา”
      - ความสำคัญของการศึกษาชาติพันธุ์วิทยา
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) แจกแผนการสอน (upload ในระบบล่วงหน้า)/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการเรียนการสอนรวมทั้งการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning
      (2) พบนักศึกษาผ่านระบบออนไลน์ แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา
      (3) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      2 พัฒนาการของการศึกษาชาติพันธุ์
      - ในบริบทนานาชาติ
      - ในบริบทไทย
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา




      3-4 แนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาชาติพันธุ์
      - แนวคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการศึกษาชาติพันธุ์
      6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      5-6 แนวคิด/ทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาชาติพันธุ์
      -แนวคิด/ทฤษฎีเฉพาะ
      6
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      7 วิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ 3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา

      8-9 กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      - ชาติพันธุ์กับการพัฒนา
      - ชาติพันธุ์กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
      6
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      10-11 กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      - ชาติพันธุ์กับความเชื่อ
      - ชาติพันธุ์กับความขัดแย้ง
      6
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      12-13 กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      - ชาติพันธุ์กับเพศสภาวะ
      - ชาติพันธุ์กับอัตลักษณ์/การธำรงชาติพันธุ์
      6
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา

      14 กลุ่มชาติพันธุ์กับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      - ชาติพันธุ์กับโลกาภิวัตน์/การย้ายถิ่น/การข้ามแดน/การข้ามชาติ
      3
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      15 - การนำเสนอผลงานของนักศึกษา (งานกลุ่ม)
      - สรุป
      3
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • C1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • C2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • C3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      (1) บรรยายเนื้อหาผ่านโปรแกรมออนไลน์
      (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint
      (3) ชมวีดิทัศน์ประกอบการสอนผ่าน YouTube
      (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
      รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
      8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
           Course assessment
      วิธีการประเมิน
      Assessment Method
      CLO สัดส่วนคะแนน
      Score breakdown
      หมายเหตุ
      Note
      การสอบกลางภาค
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • A3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      30 นัดหมายนอกตาราง
      การสอบปลายภาค
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • A3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      30 ตามตาราง มข. 30
      รายงานกลุ่มและการนำเสนอรายงาน
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • A3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      25 สัปดาห์ที่ 8
      อ่านหรือดูข่าวที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์และแสดงความเห็นบนกระดานข่าวใน e-learning
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • A3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      10 สัปดาห์ที่ 15
      การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
      • K1: มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ พัฒนาการของชาติพันธุ์วิทยาทั้งในบริบทนานาชาติและ บริบทไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาทางชาติพันธุ์ และวิธีวิทยาในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
      • K2: มีความรู้ความเข้าใจกลุ่มปรากฏการณ์ทางชาติพันธุ์โดยเชื่อมโยงเข้ากับประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
      • S1: นักศึกษาสามารถสังเคราะห์และประเมินผล เพื่อนำไปสู่การพัฒนาความรู้ใหม่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุวิทยา
      • S2: นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับชาติพันธุ์วิทยาในกรณีศึกษาต่างๆ
      • S3: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฏีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อศึกษาประเด็นหรือ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งในบริบทไทยและสากล
      • A1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      • A2: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของ ตนเองและของกลุ่ม รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      • A3: มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5 ตลอดภาคการศึกษา
      สัดส่วนคะแนนรวม 100
      9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
           Textbook and instructional materials
      ประเภทตำรา
      Type
      รายละเอียด
      Description
      ประเภทผู้แต่ง
      Author
      ไฟล์
      File
      หนังสือ หรือ ตำรา ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ. (2547). “ทบทวนแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์ข้ามยุคสมัยกับการศึกษาสังคมไทย”. ว่าด้วยแนวทางการศึกษาชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
      หนังสือ หรือ ตำรา สุเทพ สุนทรเภสัช. (2548). ชาติพันธุ์สัมพันธ์ : แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยาในการศึกษาอัตลักษณ์ กลุ่มชาติพันธุ์ ประชาชาติและการจัดองค์กรสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โบราณคดี.
      หนังสือ หรือ ตำรา Radin, Paul. (1929). History of Ethnological Theories. American Anthropologist, 31:9-33.
      หนังสือ หรือ ตำรา Voget, Fred W. (1975). A History of Ethnology. New York: Holt, Rinehart & Winston.
      หนังสือ หรือ ตำรา ฉลาดชาย รมิตานนท์ และคณะ (แปล). (2528). แนวคิดพื้นฐานทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.
      หนังสือ หรือ ตำรา จตุพร ดอนโสม. (2555). การสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายเวียดนามบ้านนาจอก. ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์ลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      หนังสือ หรือ ตำรา ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ. (2555). ปริศนาวงศาคณาญาติ “ลัวะ”. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
      หนังสือ หรือ ตำรา ยศ สันตสมบัติ. (2540). มนุษย์กับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
      หนังสือ หรือ ตำรา ยศ สันตสมบัติ. (2543). หลักช้าง: การสร้างใหม่ของอัตลักษณ์ไทในใต้คง. กรุงเทพฯ : โครงการวิถีทรรศ์.
      หนังสือ หรือ ตำรา พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคนอื่น ๆ (แปล). (2548). สังคมจีนในประเทศไทย ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์ (Chinese Society in Thailand: An Analytical History). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา พิเชษฐ์ สายพันธ์. (2547). “การแปลงผ่านอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม”. ความเป็นไทย ความเป็นไท. หน้า 95 - 136. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
      หนังสือ หรือ ตำรา รตพร ปัทมเจริญ. (2544). บทบาทของศาลเจ้าจีนในการธำรงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ : ศึกษากรณีในเขตอำเภอเมืองจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      หนังสือ หรือ ตำรา รัตนาพร เศรษฐกุล และเบ็ญจา อ่อนท้วม. (2536). จ้วง – ไท – ไทย สายใยแห่งวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : โครงการศึกษาชนชาติไทยฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัยพายัพ.
      หนังสือ หรือ ตำรา ศักรินทร์ ณ น่าน. (2555). มลาบรีบนเส้นทางการพัฒนา. เชียงใหม่ : ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
      หนังสือ หรือ ตำรา สุริยา สมุทคุปติ์ และพัฒนา กิติอาษา. (2544). "ยวนสีคิ้ว" ในชุมทางชาติพันธุ์ : เรื่องเล่า ความทรงจำ และอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวนในจังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : ห้องไทยศึกษานิทัศน์ สาขาวิชาศึกษาทั่วไป สำนักวิชา เทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
      หนังสือ หรือ ตำรา เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2552). รัฐฉาน (เมืองไต) : พลวัตของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
      บทวิจัย หรือบทความวิชาการ วารสาร “สังคมลุ่มน้ำโขง” จัดพิมพ์โดยศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฐานข้อมูลงานวิจัยทางชาติพันธุ์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, http://www.sac.or.th/databases/ethnicredb)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ ฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, http://www.sac.or.th/databases/ethnic)
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Ethnic Groups in the Mekong Region, http://www.infomekong.com/peoples
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ History of ethnological theories, American Anthropological Association, http://www.aaanet.org/committees/commissions/centennial/history/041radin.pdf
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Vietnam Ethnic Minority Peoples, http://www.vietnamspirittravel.com/guide/ethnic_minority_peoples.htm
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Ethnology - an overview, https://www.sciencedirect.com/topics/social-sciences/ethnology.
      โปรแกรมวีดีทัศน์ Ethnography & Ethnology, https://courses.lumenlearning.com/culturalanthropology/chapter/ethnography/
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Ethnology, https://www.encyclopedia.com/social-sciences-and-law/anthropology-and-archaeology/anthropology-terms-and-concepts/ethnology
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ Ethnology and Ethnography in Anthropology, https://hraf.yale.edu/teach-ehraf/ethnology-and-ethnography-in-anthropology/
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ SAGE Reference - Ethnography and Ethnology, https://sk.sagepub.com/reference/21stcenturyanthro/n15.xml
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ List of books and articles about Ethnology, https://www.questia.com/library/sociology-and-anthropology/types-of-anthropology/ethnology
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ International Journal of Anthropology and Ethnology, https://ijae.springeropen.com/
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ A review of Chinese ethnology in the past hundred years and its summary in the new era, https://ijae.springeropen.com/articles/10.1186/s41257-017-0002-y
      แอพพลิเคชั่น/เว็บไซต์ National Museum of Ethnology | OSAKA-INFO, https://osaka-info.jp/en/page/national-museum-ethnology
      10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
           Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
      Evaluation of course effectiveness and validation
      • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
      • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
      • ประเมินโดยสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละรายวิชา (Effectiveness of teaching and learning is evaluated periodically throughout the semester.)
      การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
      Improving Course instruction and effectiveness
      • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
      • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
      ผลการเรียนรู้
      Curriculum mapping
      1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

      1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
      1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
      1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
      1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
      1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

      2. ด้านความรู้
      2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
      2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
      2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

      3. ด้านทักษะทางปัญญา
      3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
      3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

      4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
      4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
      4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
      4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
      4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

      5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
      5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
      5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
      5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ