รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 | ความรู้เบื้องต้นในการวิจัยเชิงคุณภาพ | 5 | 2 |
|
1) ชี้แจงและแจกแผนการสอน อธิบายวิธีการสอน เนื้อหาที่สอน เอกสารตำราและสื่อประกอบการสอน การประมวลผลรายวิชา การส่งงานผ่านระบบออนไลน์และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา 2) การบรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อ 3) ให้นักศึกษาจับกลุ่มเพื่อการทำรายงานโดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงคุณภาพ 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
3-4 | แนวคิดพื้นฐานที่ควรทราบในการวิจัยเชิงคุณภาพ | 5 | 4 |
|
1) มอบหมายให้นักศึกษาทบทวนความรู้จากวิชาวิจัยในปี 2 2 ชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 2) ให้นักศึกษาอธิบายการประยุกต์ใช้แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาปรากฎการณ์ที่ชม 3) วัดความเข้าใจจากนำเสนอของนักศึกษา 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
5-7 | เทคนิค/วิธีการในการทำงานภาคสนามในการวิจัยเชิงคุณภาพ | 4 | 6 |
|
1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมตัวอย่างเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านโปรแกรม Google classroom 2) มอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติในแต่ละขั้นตอนและนำเสนอ 3) วัดความรู้จากงานทีศึกษา 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
8-11 | กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ | 7 | 8 |
|
1) บรรยายโดยใช้ ppt.และการให้ชมสื่อกี่ยวกับตัวอย่างการทำความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรม 2) มอบหมายให้นักศึกษาจับคู่ศึกษาตัวอย่างการทำงานของนักมานูษยวิทยาในการแก้ปัญหา เพื่ออภิปรายเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการทำงานของนักมานุษยวิทยาประยุกต์ 3) วัดความเข้าใจจากการที่นักศึกษนำเสนอและอภิปราย 4) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
12-14 | การฝึกปฏิบัติและนำเสนอผลการศึกษา | 6 | 6 |
|
1) นักศึกษาจับกลุ่มในการศึกษาประเด็นที่สนใจ และนำเสนอหัวข้อ 2) วัดความเข้าใจจากตัวอย่างในการศึกษา 3) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน และเสนอแนะเพื่อให้นักศึกษาเพื่อปรับปรุงแก้ไขงาน |
15 | สรุปภาพรวมของการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา | 3 | 2 |
|
1) บรรยายสรุปโดยใช้ ppt. 2) เปิดโอกาสให้ซักถามและตอบข้อสงสัยในประเด็นที่เรียน |
รวมจำนวนชั่วโมง | 30 | 28 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบกลางภาค และปลายภาค |
|
50 | |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม งานกลุ่ม |
|
50 | 3 papers |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | สมใจ ศรีหล้า.2555. เครื่องมือช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ เอกสารประกอบการสอน วิชา 415 344 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ บทที่3. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และคณะ.2545.วิถีชุมชน กรุงเทพฯ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ชาย โพธิสิตา. 2547. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ กรุงเทพฯ สถาบันประชากรและสังคม. มหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นิศา ชูโต.2540. การวิจัยเชิงคุณภาพ กรุงเทพฯ พีเอการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เบญจา ยอดดำเนิน- แอตติกส์.2533. การศึกษาเชิงคุณภาพ : เทคนิคการวิจัยภาคสนาม กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | เบญจา ยอดดำเนิน- แอตติกส์ และกาญจนา ตั้งชลทิพท์.2552. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ :การจัดการข้อมูลการตีความและการหาความหมาย กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยมหิดล. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ปาริชาติ วลัยเสถียร.2543. กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร.2544. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: แนวคิดและแนวปฏิบัติ กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2547. วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ: การวิจัยปัญหาปัจจุบันและการวิจัยอนาคต. กรุงเทพฯ เฟื่องฟ้าพริ้นติ้งค์ จำกัด. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุภางค์ จันทวนิช.2537. การวิจัยเชิงคุณภาพ พิมพ์ครั้งที่5.กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.สาขาสังคมศาสตร์.2537. การวิจัยเชิงคุณภาพ : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการศึกษาและสังคมสมัยใหม่ พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ สาขาสังคมศาสตร์.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อานันท์ กาญจนพันธุ์.2544. วิธีคิดเชิงซ้อนในการวิจัยชุมชน กรุงเทพฯ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อุทัย ดุลยเกษม.(บรรณาธิการ)2536. คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพ ขอนแก่น.สถาบันวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ