รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
1. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.1 แนวคิดพื้นฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.2 ความหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.3 กิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.4 ภารกิจและหน้าที่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.5 แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.3 มิติการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.4 เป้าประสงค์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1.5 ความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ |
6 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
3-4 |
2. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2.1 ความหมายของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2.2 ความสำคัญของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2.3 แนวคิดพื้นฐานการวางแผนกลยุทธ์ 2.4 ประโยชน์ของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2.5 กระบวนการในการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2.6 การประเมินทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน 2.7 เทคนิคและวิธีการคาดการณ์ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ |
6 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, หนังสือพิมพ์, website และ Power point |
|
5-6 |
3. การกำหนดความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3.1 แนวคิดพื้นฐานการหาความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3.2 ความหมายของการจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3.3 สาเหตุของความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3.4 ประเภทของความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3.5 เทคนิควิธีการหาความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3.6 เทคนิคการวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ |
6 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
7 |
4. กลยุทธ์และการประยุกต์ใช้กลยุทธ์ 4.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกลยุทธ์ 4.2 กลยุทธ์ระดับฝ่าย 4.3 กลยุทธ์ระดับองค์กร |
3 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
8-9 |
5 .แนวทางต่าง ๆ ในการพัฒนากรทรัพยากรมนุษย์ 5.1 การฝึกอบรม 5.2การให้การศึกษา 5.3 การพัฒนา 5.4 การเรียนรู้ 5.5 องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ |
6 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
10 |
6. กระบวนการฝึกอบรม 6.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฝึกอบรมและการพัฒนา 6.2 กระบวนการฝึกอบรวมและการพัฒนา - การสำรวจหาความจำเป็นในการฝึกอบรมและพัฒนา - การกำหนดวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงและชัดเจน - การดำเนินการฝึกอบรม 6.3 การคัดเลือกผู้ฝึกอบรมและวิทยากร 6.4 ประโยชน์การฝึกอบรม 6.5 ปัญหาที่พบในการฝึกอบรมและพัฒนา |
3 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
11 |
7. เทคนิคและเครื่องมือในการฝึกอบรม 7.1 ความหมายของเทคนิคการฝึกอบรม 7.2 แนวคิดการออกแบบและการเลือกใช้เทคนิคการฝึกอบรม 7.3 การแบ่งประเภทเทคนิคการฝึกอบรม 7.4 เทคนิคการฝึกอบรมโดยการลงมือปฏิบัติ 7.5 เทคนิคการฝึกอบรมโดยการไม่ลงมือปฏิบัติ 7.6 ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกเทคนิคการฝึกอบรม |
3 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
12 |
8. กระบวนการสรรหาว่างจ้างพนักงาน 8.1 การกำหนดรายละเอียดของตำแหน่งงาน 8.2 การสรรหาผู้สมัครที่มีศักยภาพ 8.3 การสัมภาษณ์ผู้สมัครงาน 8.4 การประเมินผู้สมัครงาน 8.5 การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการว่าง จ้างอย่างต่อเนื่อง |
3 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
13 |
9. การรักษาบุคลากรชั้นยอด 9.1 ความสำคัญของการรักษาบุคลากร 9.2 ความท้าทายของการรักษาบุคลากรที่มีความแตกต่างกัน 9.3 สาเหตุการลาออกจากงาน 9.4 วิธีการบริหารเพื่อรักษาบุคลากรให้คงอยู่กับองค์การ |
3 |
|
- การบรรยายโดยผู้สอน - การตั้งคำถามการอภิปรายและพูดคุยแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน - สื่อประกอบการเรียนการสอน ประกอบด้วยเอกสารประกอบการสอน,บทความจากวารสาร, website และ Power point |
|
14-15 | 10. การนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนของนักศึกษา | 6 |
|
- กำหนดให้นักศึกษาเลือกศึกษาองค์การใดองค์องค์การหนึ่งที่เห็นว่ามีการบริหารจัดการเป็นเลิศ ( Best Practices) ทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ตามหัวข้อที่มีการกำหนดให้ไปศึกษา แล้วมานำเสนอในชั้นเรียน พร้อมทั้งจัดทำเป็นรายงานรูปเล่ม |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 45 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบปลายภาค |
|
45 | |
รายงานเดี่ยว 2 ชิ้น |
|
15 | |
รายงานกลุ่มและการนำเสนอในชั้นเรียน |
|
35 | |
การเข้าชั้นเรียน |
|
5 | |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | Dessler,gary .(2549).กรอบความคิดสำหรับการจัดการทรัพยากรมนุษย์. เกื้อจิตร ชีระกาญจน์ และคณะ(แปล). กรุงเทพฯ:เพียร์สัน เอ็นดูเคชั่น. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | ธัญญา ผลอนันต์.(2546). Human Resources Form: A Guide to Create Employee Satisfaction.กรุงเทพฯ:อินโนกราฟฟิกส์. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
เอกสารประกอบการสอน | ชาญชัย อาจินสมาจาร.(ไม่ระบุปีพิมพ์).การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.เอกสารประกอบการบรรยาย. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | วิชัย โถสุวรรณจินดา.(2551).การบริหารทรัพยากรมนุษย์(พิมพ์ครั้งที่4).กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โฟรเพซ. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | โสภณ ภูเก้าล้วน และ ฐิติวรรณ สินธุ์นอก. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับผู้จัดการในสายงานในทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง จำกัด. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.(2547).กรณีศึกษาBest Practices การมุ่งเน้นที่ทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ:เรดเฟิ์รน ครีเอชั่น. | อาจารย์ภายนอกคณะ | |
เอกสารประกอบการสอน | พรอัมรินทร์ พรหมเกิด. (2557). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 415 335 สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | อาจารย์ภายในคณะ | |
หนังสือ หรือ ตำรา | กีรติ ยศยง. (2548). การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์.กรุงเทพฯ:มิสเตอร์ก็อปปี้. | อาจารย์ภายนอกคณะ |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ