รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
1 / 2567
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
Course Code and Number(s) of Credits
Course Code and Number(s) of Credits
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
Type of the Subject Course
Type of the Subject Course
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
Course Coordinator and Lecturer
Course Coordinator and Lecturer
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
Course learning outcomes-CLO
Course learning outcomes-CLO
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
Description of Subject Course/Module
Description of Subject Course/Module
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
Delivery mode and Learning management Method
Delivery mode and Learning management Method
7. แผนการจัดการเรียนรู้
Lesson plan
Lesson plan
สัปดาห์ที่ Week |
หัวข้อการสอน Teaching topics |
จํานวน ชั่วโมง Number of hours |
CLO |
กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels |
|
---|---|---|---|---|---|
ทฤษฎี | ปฏิบัติ | ||||
1-2 |
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับชุมชน 1.1 ความหมายของชุมชน 1.2 ความเป็นมาของชุมชน 1.3 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนรูปแบบใหม่ (Virtual Community) 1.4 ลักษณะและองค์ประกอบชุมชน 1.5 โครงสร้างทางสังคมของชุมชน 1.6 หน้าที่ของชุมชน |
10 |
|
(1) แจกแผนการสอน/แนะนำหนังสือประกอบการเรียน และการส่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือโปรแกรม Google Classroom (2) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) แนะนำการเรียนการสอน การประมวลผลรายวิชา และการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชา (3) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและจับกลุ่มทำงาน (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
3-4 |
บทที่ 2 หลักการวิเคราะห์ชุมชน 2.1 ความหมายการวิเคราะห์ชุมชน 2.2 แนวคิดในการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน 2.3 วัตถุประสงค์การวิเคราะห์ชุมชน 2.4 ความสำคัญและความจำเป็นในการวิเคราะห์ชุมชน 2.5 ประเภทของการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน 2.6 หลักการวิเคราะห์ชุมชน 2.7 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการวิเคราะห์ชุมชน |
10 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (4) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
5-8 |
บทที่ 3 เทคนิค และวิธีการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน 3.1 การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน 3.2 ประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม 3.3 การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 3.4 กระบวนการวางแผนอย่างมีส่วนร่วม 3.5 การศึกษาวิเคราะห์ระบบ 3.6 การสร้างอนาคตร่วมกัน 3.7 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค |
20 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปรายถึงเทคนิค และวิธีการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน (Case Discussion) (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว และกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
9 |
บทที่ 4 วิธีการท่ีใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน 4.1 วิธีการวิเคราะห์จากเอกสาร (การใช้ข้อมูลเอกสาร) 4.2 วิธีการวิเคราะห์ภาคสนาม 1) การสังเกต 2) การสัมภาษณ์ 3) การสนทนากลุ่ม 4) สำรวจชุมชน 5) แบบผสมผสาน |
5 |
|
(1) พบนักศึกษาผ่านโปรแกรม Google (Google Meeting/Hangout) (2) เอกสารประกอบการบรรยายเนื้อหาภาคทฤษฎี ด้วยโปรแกรม PowerPoint (3) มีตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับอภิปรายถึงเทคนิค และวิธีการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน (Case Discussion) (4) นักศึกษาทำแบบฝึกหัดเดี่ยว และกลุ่ม สั่งงานผ่านระบบออนไลน์ KKU E-Learning หรือ Google Classroom (5) อาจารย์ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
10-14 | บทที่ 5 ปฏิบัติการวิเคราะห์ชุมชน (ภาคสนาม) | 25 |
|
(1) นักศึกษาทำงานกลุ่ม ลงปฏิบัติการภาคสนาม ประสานงานพื้นที่และดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน (2) นักศึกษาทำงานกลุ่มเพื่อสรุปรายงานวิเคราะห์ชุมชน (3) อาจารย์ให้คำแนะนำ ติดตามการประสานงาน และประเมินผลการลงสนามวิเคราะห์ชุมชน |
|
15 |
บทที่ 5 ปฏิบัติการวิเคราะห์ชุมชน ภาคสนาม นำการผลการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน และข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาชุมชน |
5 |
|
(1) พบนักศึกษาในห้องประชุม หรือลานกิจกรรม โดยนำเสนอการสรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน และข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาชุมชน (2) จัดการถอดสรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนปัญหาการลงปฏิบัติการภาคสนาม (3) อาจารย์ติดตามรายงานการวิเคราะห์ชุมชน ตอบข้อซักถาม และทบทวนเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา |
|
รวมจำนวนชั่วโมง | 75 | 0 |
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
Course assessment
Course assessment
วิธีการประเมิน Assessment Method |
CLO |
สัดส่วนคะแนน Score breakdown |
หมายเหตุ Note |
---|---|---|---|
สอบกลางภาค |
|
20 | นัดหมายนอกตารางมข. 30 |
สอบปลายภาค |
|
30 | ตามตาราง มข. 30 |
การค้นคว้าด้วยตนเอง และแบบฝึกหัด |
|
5 | ตลอดภาคการศึกษา |
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการภาคสนาม |
|
15 | ตลอดภาคการศึกษา |
การปฏิบัติการภาคสนาม และรายงานการวิเคราะห์ชุมชน |
|
30 | สัปดาห์ที่ 10 - 15 |
สัดส่วนคะแนนรวม | 100 |
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
Textbook and instructional materials
Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา Type |
รายละเอียด Description |
ประเภทผู้แต่ง Author |
ไฟล์ File |
---|---|---|---|
หนังสือ หรือ ตำรา | ครรชิต พุทธโกษา. (2554). คู่มือการัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ทะนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ำ. (2552). การศึกษากับการพัฒนาชนบท. นครราชสีมา: บัณฑิตวิทยาลับ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ธนพรรณ ธานี. (2542). การศึกษาชุมชน. ขอนแก่น: ภาควิชาพัฒนาสังคม คณะมนษุยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | นาถ พันธุมนาวิน. (2523). สังคมวิทยาชนบท. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ประดิษฐ์ มัฌชิมา. (2522). สังคมวิทยาชนบท. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | ยศ บริสุทธิ์. (2558). การศึกษาชุมชน: แนวคิดฐานการวิจัย และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สมาน รังสิโยกฤษฎ์ และสุธี สุทธิสมบูรณ์. (2542). หลักการบริหารเบื้องต้น. กรงุเทพมหานคร: สวัสดิการ สำนักงาน ก.พ.. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | สุจินต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ. (2530). การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน ขอนแก่น: โครงการวิจัยระบบการทำฟาร์ม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อภิชาต ทองอยู่. (2527). วัฒนธรรมกับชุมชน. กรุงเทพมหานคร: รุ่งเรืองสาลินีการพิมพ์. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อรพินท์ สพโชคชัย. (2537). คู่มือการจัดการประชุมเพ่ือระดมความคิดในการพัฒนาหมู่บ้าน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย. | ||
หนังสือ หรือ ตำรา | อานันท์ กาญจนพันธ์. (2536). ศักยภาพชุมชนและการพัฒนา: กรอบความคิดการวิจัยด้านการพัฒนาสังคม. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. |
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
Curriculum mapping
1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 2.4 | 3.1 | 3.2 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม
5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ