Theme-Logo
รายละเอียดรายละเอียดของรายวิชา
สถานะ
Status
หลักสูตร
Academic Program
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
Bachelor of Arts
สาขาวิชา
Field
สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Sociology and Anthropology)
วิชาเอก
Major
หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ.
2565
ภาค/ปีการศึกษา
Semester/Academic Year
2 / 2566
1. รหัส ชื่อรายวิชา/ชุดวิชา และจำนวนหน่วยกิต
     Course Code and Number(s) of Credits
รหัสวิชา/ชุดวิชา
Course Code
HS422402
ภาษาไทย
Thai name
การสื่อสาร สื่อและสังคมดิจิทัล
ภาษาอังกฤษ
English name
Communication, Media and Digital Society
จํานวนหน่วยกิต
Number(s) of Credits
3(3-0-6)
2. ประเภทของรายวิชา/ชุดวิชา และหลักสูตร
     Type of the Subject Course
ประเภท
Type
  • รายวิชาบังคับ (Compulsory Course)
ในหลักสูตร
in the Program of
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
และ เป็นรายวิชา/ชุดวิชาในหลักสูตร
and if also used in other academic programs, please specify the program and the subject type
  • ชุดวิชาโทสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2567)
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอน
     Course Coordinator and Lecturer
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
Course Coordinator
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
อาจารย์ผู้สอน
Lecturers
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์กีรติพร จูตะวิริยะ
4. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา/ชุดวิชา
     Course learning outcomes-CLO
ความรู้
Knowledge
  • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาการสื่อสาร
  • นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
จริยธรรม
Ethics
  • มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
ทักษะ
Skills
  • นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
ลักษณะบุคคล
Character
  • มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเอง
  • นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
5. คําอธิบายรายวิชา / ชุดวิชา
     Description of Subject Course/Module
ภาษาไทย
Thai
แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาการสื่อสาร หลักการสื่อสารและสื่อในระบบเศรษฐกิจการเมืองโลก บทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล บทบาทและผลกระทบของการติดต่อสื่อสารในการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของประเทศกำลังพัฒนาและประชาคมโลก และการวิเคราะห์ปัญหาการติดต่อสื่อสารและสื่อใหม่ในการสังคมดิจิทัล
ภาษาอังกฤษ
English
Concept and theories of sociology of communication, communication and media in world political economy, media roles in society and culture in digital society, roles and impacts of communication in economic, political, and socio-cultural development of developing countries and world community, an analysis of communication and new media problems in digital society
6. รูปแบบและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
     Delivery mode and Learning management Method
รูปแบบ
Delivery mode
  • Classroom-based learning
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
Learning management Method
  • Flipped classroom
  • Case discussion
7. แผนการจัดการเรียนรู้
     Lesson plan
สัปดาห์ที่
Week
หัวข้อการสอน
Teaching topics
จํานวน
ชั่วโมง
Number of hours
CLO กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ/ เอกสารและช่องทางการสอน
Teaching and Learning Activities, Instructional Media/ Materials, and Teaching Channels
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 การนำเข้าสู่การเรียน
-แนะนำรายวิชา/วิธีการเรียน/การแบ่งกลุ่ม/การประเมินผล/เอกสารและ
หนังสือประกอบการเรียน
3
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • E2: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
-บรรยาย และแจกประมวลรายวิชา
-ชี้แจงข้อตกลงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนและการประเมินผล
2 1. แนวคิด และทฤษฎีสังคมวิทยาการสื่อสาร
-บทนำ ความหมาย
-ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับสังคมโลก
-ความสำคัญในการสื่อสารในโลกสมัยใหม่
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาการสื่อสาร
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-อภิปรายและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและค้นคว้า
3 2.พัฒนาการแนวคิดและการเปลี่ยนแปลงของการสื่อสารในการพัฒนา
-การเปลี่ยนแปลงด้านการสื่อสาร
-พัฒนาการสื่อสารในสังคม
3
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาการสื่อสาร
-มอบหมายงานและอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียนให้นักศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดพัฒนาการและลักษณะของการสื่อสารในแต่ยุค
4 3. การสื่อสารกับการพัฒนาในสังคมดิจิทัล
-ลักษณะการสื่อสารและสื่อการพัฒนา
-แนวคิด ทฤษฎีสื่อสารเพื่อการพัฒนา
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยาย อภิปราย และมอบหมายงานสำหรับการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง
5 4. แนวทางการติดต่อสื่อสารกับการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก
-สาระสำคัญ แนวทางการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
-แนวทางสื่อสารเพื่อการพัฒนาในมิติด้านต่างๆ
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
-มอบหมายให้นักศึกษาสังเคราะห์ความรู้และเขียนสรุปประเด็นสำคัญและนำเสนอในชั้นเรียน
6 5.หลักการสื่อสารและสื่อในระบบเศรษฐกิจการเมืองโลก
-สัมพันธภาพการสื่อสารกับการพัฒนาในมิติทางเศรษฐกิจ
-ศักยภาพในการสื่อสาร บทบาทและผลกระทบแต่ละพื้นที่
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-นักศึกษาอ่านงานวิจัยหรือผลงานที่เกี่ยวข้องกับหลักการสื่อสารและสื่อในระบบเศรษฐกิจการเมืองโลก และบทบาทการติดต่อสื่อสารในการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองโลก สามารถ วิเคราะห์และอภิปราย
7 6.บทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
-บทบาทการสื่อสารในการพัฒนาระหว่างประเทศประเด็นทางสังคมวัฒนธรรม
-การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม Intercultural communication
-การสื่อสารในบทบาทการพัฒนาด้านสังคม วัฒนธรรม
-ผลกระทบด้านสังคมวัฒนธรรมในการพัฒนา
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยาย อภิปราย อ่านบทความและวิเคราะห์ประกอบเนื้อหา
8 7. ดิจิทัล บทบาทและผลกระทบของการติดต่อสื่อสารในการพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมของประเทศกำลังพัฒนาและประชาคมโลก
-บทบาทและผลกระทบของการติดต่อสื่อสาร
-การพิจารณาบทบาทและผลกระทบความมั่นคงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
-เงื่อนไขทางสังคมภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการพัฒนายุคดิจิทัล
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
-นักศึกษาอ่านงานเขียนที่สะท้อนวิถีชีวิตในสังคมสมัยใหม่ วิเคราะห์ประเด็นปัญหา และตั้งข้อสังเกตการ นำเสนอในบทบาทและผลกระทบของการติดต่อสื่อสารในการพัฒนา
9 8. การติดต่อสื่อสารกับการพัฒนาเชิงนโยบาย
-การสื่อสารกับนโยบายและแผนงาน
-การสื่อสารกับการกระจายข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนาในประเด็นต่างๆ
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-อภิปราย ศึกษา และวิเคราะห์การติดต่อ สื่อสารกับการพัฒนาเชิงนโยบายในปัจจุบัน
10 9. การสื่อสารกับแนวคิดเรื่อง พื้นที่สาธารณะ ในการพัฒนา
-การวิเคราะห์สถานการณ์ การสื่อสาร สมัยใหม่ในศตวรรษที่20
-การต่อต้านปรัชญาปฏิฐานนิยมของ Habermas
-พื้นที่สาธารณะในทัศนะของ Habermas
-การสื่อสารกับการสร้างพื้นที่ในประชาคมโลก
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • E2: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
-บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา และวิเคราะห์แนวคิดเรื่อง พื้นที่สาธารณะ ในการพัฒนา
ในห้องเรียน
YouTube
11 10. การวิเคราะห์สื่อกับการติดต่อสื่อสารในโลกสมัยใหม่
-บทบาทของสื่อกับการพัฒนาในบริบทของโลกาภิวัตน์
-บทบาทสื่อในการพัฒนาระดับท้องถิ่นและสากล
-บทบาทสื่อมวลชนในการพัฒนาระดับท้องถิ่นและสากล
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-มอบหมายงานให้ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายและแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้การวิเคราะห์สื่อกับการติดต่อสื่อสารในโลกาภิวัตน์
ในห้องเรียน
12 11. สื่อเพื่อการพัฒนายุคดิจิทัล
- ความหมายสื่อเพื่อการพัฒนา
-ประเภทและคุณลักษณะสื่อในการพัฒนา
-แนวทางและรูปแบบการใช้สื่อเพื่อการพัฒนายุคดิจิทัล
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-อภิปราย ศึกษากรณีศึกษา และแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้
13 12. การวิเคราะห์ปัญหาการติดต่อสื่อสารและสื่อใหม่ในการสังคมดิจิทัล
-การวิเคราะห์ปัญหาการติดต่อสื่อสารในการพัฒนา
-ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการสื่อสารในการพัฒนา
-แนวทางการแก้ไขปัญหาการสื่อสารในการพัฒนา
-แนวโน้มการสื่อสารในการพัฒนา
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายแสดงความคิดเห็น และสังเคราะห์ปัญหาการติดต่อสื่อสารและสื่อใหม่ในการสังคมดิจิทัล แนวทางรูปแบบการใช้สื่อเพื่อการพัฒนาสังคม
14 13.สรุปประเด็นการสื่อสารในโลกสมัยใหม่และดิจิทัล
-ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มการสื่อสารในการพัฒนา
-แนวทางการแก้ไขปัญหาการสื่อสารในการพัฒนา
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
-บรรยาย ศึกษากรณีศึกษา อภิปรายและแสดงความคิดเห็นวิเคราะห์ และสังเคราะห์นัยทางสังคมและกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการพัฒนา ประเด็นการสื่อสารในโลกสมัยใหม่และดิจิทัล
15 14.การวิเคราะห์ นำเสนองานด้านสื่อสารในสังคมโลกดิจิทัล
-แนวทางในการสื่อสารในโลกปัจจุบัน
-แนวโน้มการสื่อสารในโลกสมัยใหม่
3
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าของกลุ่ม
ชุดสไลด์จากโปรแกรม Powerpoint หรือ โปรแกรมผลิตสไลด์ประกอบการสอน
ในห้องเรียน
รวมจำนวนชั่วโมง 45 0
8. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
     Course assessment
วิธีการประเมิน
Assessment Method
CLO สัดส่วนคะแนน
Score breakdown
หมายเหตุ
Note
สอบกลางภาค
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาการสื่อสาร
30
สอบปลายภาค
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
30
งานกลุ่ม
รายงานผลการศึกษา และการนำเสนอ
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • E2: มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการ
  • C1: มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเอง
  • C2: นักศึกษาตระหนักในคุณค่า ความสำคัญ เอกลักษณ์ และความแตกต่างทางวัฒนธรรมของสังคม
20
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อภิปราย ตอบคำถาม และร่วมกิจกรรม
  • K1: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาการสื่อสาร
  • K2: นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในบทบาทสื่อในมิติสังคมและวัฒนธรรมภายใต้สังคมดิจิทัล
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
10
รายงานการสังเคราะห์ความรู้ (งานรายบุคคล ครั้งที่ 1)
การนำเสนองานที่ศึกษาค้นคว้า (งานรายบุคคล ครั้งที่ 2)
  • S1: นักศึกษามีทักษะในการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
  • S2: นักศึกษามีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนและการนำเสนอผลงาน
  • E1: มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
10
สัดส่วนคะแนนรวม 100
9. ตําราและเอกสารประกอบการสอน
     Textbook and instructional materials
ประเภทตำรา
Type
รายละเอียด
Description
ประเภทผู้แต่ง
Author
ไฟล์
File
หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพและสมสุข หินวิมาน. 2551. สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง กับ
สื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.

อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา กาญจนา แก้วเทพ. 2547. ทฤษฎีและแนวทางการศึกษาสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ : Higher Press. อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา ปาริชาต สถาปิตานนท์ใ 2551. การสื่อสารประเด็นสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา เสถียร เชยประทับ.2551. การสื่อสาร การเมือง และประชาธิปไตยในสังคมพัฒนาแล้ว. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Giddens, A. 2006. Sociology. 5th edition. Cambridge: Polity อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
หนังสือ หรือ ตำรา Habermas,J.1983. The Structural transformation of the Public Sphere. translated by Thomas Burger.
Cambridge: MIT Press.
อาจารย์ภายนอกมหาวิทยาลัย
10. การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
     Course evaluation and Plan for Teaching Improvement
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาและการทวนสอบ
Evaluation of course effectiveness and validation
  • ประเมินโดยนักศึกษาผ่านระบบประเมินออนไลน์ของมหาวิทยาลัย (The Course is evaluated online by students via the university's course evaluation system)
  • ประเมินโดยการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (The Course learning outcomes are validated by the program committee.)
การปรับปรุงการเรียนการสอนและประสิทธิผลของรายวิชา
Improving Course instruction and effectiveness
  • นําผลการประเมินโดยนักศึกษา มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน (Improve and develop course instruction and assessment according to students' feedback.)
  • นําผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนเพื่อมาปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชา (Improve and develop course instruction and assessment according to the course validation result.)
ผลการเรียนรู้
Curriculum mapping
1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3

1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสาธารณะ รักและภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ
1.4 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและการแสดงออกซึ่งความมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ

2. ด้านความรู้
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
2.2 มีทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถปฏิบัติงานในสาขาวิชาการ/วิชาชีพในสถานการณ์ต่างๆได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทางสังคม
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์และมีความหลากหลายในการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม

3. ด้านทักษะทางปัญญา
3.1 สามารถค้นหา ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาความรู้และการแก้ปัญหาทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์และริเริ่มสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ของตนในการแก้ปัญหาการทำงานได้จริง

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีภาวะผู้นำ รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
4.2 รู้ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและเข้าใจหลักการในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเพื่อการปรับตัวในการทำงานและการอยู่รวมกับผู้อื่น
4.4 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนได้อย่างเหมาะสม

5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้
5.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาในด้านวิชาการได้
5.3 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การใช้ภาษาในหลากหลายทักษะ ทั้งด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน และสามารถถ่ายทอดสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ